Show All PDF Close modal

การพยาบาลก้าวไกล เพราะน้ำใจเหล่าพยาบาล เสียสละและบริการ ตามปณิธานสมเด็จพระบรมราชชนนี

ชื่อ
ตำแหน่ง
อีเมล
ที่อยู่ คณะพยาบาลศาสตร์เกื้อการุณย์
มหาวิทยาลัยนวมินทราธิราช
131/5 ถนนขาว แขวงวชิรพยาบาล เขตดุสิต กรุงเทพมหานคร 10300
โทร

ประสบการณ์การทำงาน


  • พ.ศ. 2560 - ปัจจุบัน


    คุณวุฒิทางการศึกษา
    คุณวุฒิ ปี พ.ศ.ที่จบ ชื่อสถานศึกษา
    - อบรมระยะสั้น 2557 สำนักการแพทย์ กรุงเทพมหานคร
    หลักสูตรบริหารการพยาบาล รุ่นที่ 9
    - Certificate Attended and workshop training in the 14th International Mental Health Conference Opening Doors Outrigger Resort, Surfers Paradise, QLD 5 – 7 August 2013
    Total attendance time for session and keynote presentations: 13.5 hours
    These hours may be used or submitted to your Association or College for the calculation of PD points Total attendance of presentations approved with ACRRM: 11 Core Points
    - Certificated in ICH & GCP 2549 PDD Presenter & INH Trainer of
    Training Robert Howell
    - Ethical in Human Research 2553 คณะแพทยศาสตร์
    จุฬาลงกรณมหาวิทยาลัย
    - มาตรฐานการวิจัยในคน 2555 สำนักการแพทย์ กรุงเทพมหานคร
    - วุฒิบัตรเฉพาะทางการพยาบาล 2547 จุฬาลงกรณมหาวิทยาลัย
    สุขภาพจิตและจิตเวชศาสตร์
    - Ph.D. (Medical & Health 2544 Mahidol University
    Social Sciences in the area of Anthropology, Sociology, Psychology and Health Economics)
    - Master of Social Administration 2532 Thammasart University
    - ประกาศนียบัตรพยาบาลศาสตร์ 2527 วิทยาลัยพยาบาลเกื้อการุณย์
    (ต่อเนื่อง 1ปี) เทียบเท่าปริญญาตรี
    -ประกาศนียบัตรวิชาพยาบาล 2526 วิทยาลัยพยาบาลเกื้อการุณย์
    และอนามัย
    -ประกาศนียบัตรวิชาผดุงครรภ์ 2526 วิทยาลัยพยาบาลเกื้อการุณย์

    ประสบการณ์การทำงานที่เกี่ยวกับวิจัย (จากอดีตถึงปัจจุบัน)
    Qualified & Experiences ด้าน IRB :
    1. Certificate of GCP & Human Protection Research จาก JREC โดย PDD Presenter & INH Trainer of Training Robert Howell ในปี 2549
    2. เกียรติบัตรการอบรมมาตรฐานการวิจัยในคน สำนักการแพทย์ 30 เม.ย.-1 พ.ค. 2555
    3. ดูงานด้านการวิจัย ณ ประเทศไต้หวัน
    4. ดูงานการทำงานของคณะกรรมการควบคุมวิจัยในคนของวิทยาลัยแพทยศาสตร์พระมงกุฎเกล้า
    5. ดูงานการทำงานของคณะกรรมการควบคุมวิจัยในคนของมหาวิทยาลัยสงขลานครินทร์และการพัฒนาระบบวิจัยทางการแพทย์ของโรงพยาบาลสงขลา
    6. กรรมการพัฒนาร่างมาตรฐานงานวิจัย กรุงเทพมหานคร
    7. อนุกรรมการพิจารณาและควบคุมวิจัยในคน สำนักการแพทย์
    8. เลขานุการคณะกรรมการพิจารณาและควบคุมวิจัยในคนและพิจารณาทุนวิจัยของคณะพยาบาลศาสตร์เกื้อการุณย์ (ปี 2554-2555)
    9. กรรมการพิจารณาและควบคุมวิจัยในคนและพิจารณาทุนวิจัยของคณะพยาบาลศาสตร์เกื้อการุณย์ (ปี 2555-ปัจจุบัน)
    10. ผู้ทรงคุณวุฒิสอบป้องกันวิทยานิพนธ์และตรวจเครื่องมือวิจัยนักศึกษาปริญญาโม มหาวิทยาลัยต่างๆ เช่น ม.มหิดล จุฬา บูรพา
    11. เป็นวิทยากรอบรววิจัยให้แก่บุคลากรทางการแพทย์ พยาบาลและนักสาธารณสุข เช่น รพ.เจริญกรุงประชารักษ์ รพ.สิริรทร เป็นต้น
    4. ผลงานทางวิชาการ
    4.1 บทความทางวิชาการ
    1. สุธีกาญจน์ ไชยลาภ. (2548).ประสบการณ์ในการฟื้นฟูสภาพจิตใจแก่ผู้ประสบภัยพิบัติคลื่นยักษ์สึนามิ ศูนย์พักพิงบางม่วง อำเภอตะกั่วป่า จังหวัดพังงา. วารสารวชิรสารการพยาบาล; 7(2), 19-27.
    2. สุธีกาญจน์ ไชยลาภ.(2546). ความเครียดจากการประกอบอาชีพและการจัดการกับความเครียดในบริบทของกระบวนการแรงงาน. วารสารสังคมศาสตร์การแพทย์; 13(1), 33-69.
    3. สุธีกาญจน์ ไชยลาภ. (2545). สุขภาพจิตสตรี : ทัศนะเชิงระบาดวิทยาสังคม.วารสารวชิรสารการพยาบาล; 4(2), 59-65.
    4. สุธีกาญจน์ เอี่ยมยิ่งพานิช .(2543). ความเครียดและการจัดการความเครียดจากการประกอบ อาชีพในบริบทของกระบวนการแรงงานภายใต้พลวัตการเปลี่ยนผ่านของระบบการผลิต. เอกสารประกอบการประชุมทางวิชาการระดับชาติ สาขาสังคมวิทยาครั้งที่ 1 เรื่อง สถานภาพผลงานวิจัยเกี่ยวกับพลวัตการปรับตัวของสังคมไทย. ในชุดเอกสารการประชุมชื่อประเด็นปัญหาและผลกระทบของกระแสโลกาภิวัตน์และการพัฒนา (กลุ่มF3) กรุงเทพฯ : สำนักพิมพ์คณะกรรมการสภาวิจัยแห่งชาติ, 1-24.
    5. ตีพิมพ์บทความเรื่องการทารุณกรรมทางเพศในเด็กไทย ในวารสารพยาบาลจิตเวชแห่งประเทศไทยในปีพ.ศ. 2540.
    6. ตีพิมพ์บทความเรื่องการให้คำปรึกษาทางจิตแก่ผู้ป่วยจิตเวชและครอบครัว ในวารสารวชิรสารการพยาบาล ในปี พ.ศ. 2553.
    7. ตีพิมพ์ผลงานวิจัยเรื่อง Factors influencing job stress in health care providers ลงในรายงานการประชุมวิชาการนานาชาติ เรื่อง Skill mix : Challenge in improving laborforce
    ในการประชุมที่เมลเบริน ออสเตรเลีย
    8. บทความวิจัยใน proceeding การประชุม International Mental Health จัดโดย Australian & New Zealand Psychiatry Association เรื่อง The Effectiveness of Buddhist group activity program to rehabilitative in Psychiatric patients after returning to community และเรื่อง The effectiveness of Self- stress management on social learning program in people with mental illness.
    4.2 ผลงานวิจัย
    1. สุธีกาญจน์ ไชยลาภ และ กิตติ ไชยลาภ .(2546). พฤติกรรมการดูแลตนเองเมื่อเจ็บป่วยของ คนงานก่อสร้างย้ายถิ่น. วารสารสหศาสตร์; 3(1), 101-125. (เป็นหัวหน้าโครงการ )
    2. แสงเทียน ธรรมลิขิตกุล และ สุธีกาญจน์ ไชยลาภ .(2546). การศึกษาพฤติกรรมการใฝ่รู้ และความเชื่อมั่นในตน ของนักศึกษาพยาบาล วิทยาลัยพยาบาลเกื้อการุณย์ในการเรียนแบบใช้ปัญหาเป็นหลัก. วารสารวชิรเวชสาร; 47(2), 159-166. (เป็นผู้ร่วมโครงการ)
    3. วรุณวรรณ ผาโคตร และ สุธีกาญจน์ ไชยลาภ.(2546). การสร้างเสริมความฉลาดทางอารมณ์และทักษะการแก้ไขปัญหาในเด็กวัยเรียนโดยใช้โปรแกรมการเรียนรู้ด้วยจินตคณิต.
    วารสารโรงพยาบาลศรีธัญญา; 5(2), 19-27.(เป็นผู้ร่วมโครงการ )
    4. สุธีกาญจน์ ไชยลาภ และ แสงเทียน ธรรมลิขิตกุล. (2547). สภาพแวดล้อมในการทำงาน กับสภาวะสุขภาพของคนงานหญิงในโรงงานอุตสาหกรรม ศึกษาเฉพาะกรณีโรงงานผลิต ตุ๊กตาเซรามิก ตำบลศาลายา อำเภอนครไชยศรี จังหวัดนครปฐม. วารสารสังคมศาสตร์การ แพทย์; 13(2), 88-105. เป็นหัวหน้าโครงการ)
    5. จารุวรรณ ริ้วไพบูลย์ และ สุธีกาญจน์ ไชยลาภ.(2548). เจตคติต่อวิชาการพยาบาลจิตเวช ศาสตร์ของนักศึกษาพยาบาลหลักสูตรพยาบาลศาสตร์ วิทยาลัยพยาบาลเกื้อการุณย์. วารสารโรงพยาบาลศรีธัญญา ; 7(1-3) : ต.ค.47-ก.ย.48, 19-27. (เป็นผู้ร่วมโครงการ )
    6. สุธีกาญจน์ ไชยลาภ และ รัชนี บุญเจริญ.(2548). ประสิทธิผลของการฝึกความคงทนในการเรียนรู้ด้วยการใช้เวลาว่างในการออกกำลังกายของเด็กออทิสติก. วารสารราชานุกูล; 20(3), 24-36.(เป็นหัวหน้าโครงการ)
    7. สุธีกาญจน์ ไชยลาภ.(2553) . ประสิทธิผลของโปรแกรมจิตบำบัดแนวพุทธในการฟื้นฟูสมรรถภาพทางจิตในผู้เจ็บป่วยทางจิตเรื้อรังภายหลังกลับคืนสู่สังคม .วารสารเกื้อการุณย์.(เป็นหัวหน้าโครงการ ได้รับทุนสนับสนุนวิจัยจากคณะพยาบาลศาสตร์กื้อการุณย์)
    8.สุธีกาญจน์ ไชยลาภ.(2554). ความรู้ ทัศนคติและทักษะการควบคุมบุหรี่ในสถานศึกษาของแกนนำนักศึกษาพยาบาล คณะพยาบาลศาสตร์เกื้อการุณย์ (เป็นหัวหน้าโครงการ ได้รับทุนจากเครือข่ายการควบคุมยาสูบและสมาคมพยาบาลแห่งประเทศไทย)
    9. สุธีกาญจน์ ไชยลาภ.(2556).ประสิทธิผลของโปรแกรมการเรียนรู้ทางสังคมด้านการจัดการความเครียดด้วยตนเองในผู้ป่วยจิตเวช.(สุธีกาญจน์ ไชยลาภ และ ถนิมวงษ์ ใช้พานิช , เป็นหัวหน้าโครงการ ได้รับทุนสนับสนุนวิจัยจากคณะพยาบาลศาสตร์เกื้อการุณย์ปี 2553)
    10. การวิจัยเรื่องการเฝ้าระวังและป้องกันความพิการในชุดโครงการยุทธศาสตร์พัฒนาคุณภาพชีวิตในคนพิการ (กิตติ ไชยลาภ นรินทร์ สังขรักษา และสุธีกาญจน์ ไชยลาภ, เป็นผู้ร่วมโครงการวิจัย ได้รับทุนสนับสนุนวิจัยจากกระทรวงพัฒนาสังคมและความมั่นคงของมนุษย์ในปี พ.ศ. 2550)
    11. การเตรียมความพร้อมทางด้านจิตใจเพื่อสุขภาวะทางอารมณ์และจิตใจ ในการรับมือกับภัยพิบัติ ของประชาชนในเขตกรุงเทพมหานคร (สุธีกาญจน์ ไชยลาภ และ สมบัติ ริยาพันธ์ เป็นหัวหน้าโครงการ ได้รับทุนสนับสนุนการวิจัยจากรัฐบาล ประเภททุนอุดหนุนทั่วไป คณะพยาบาลศาสตร์เกื้อการุณย์ พ.ศ. 2559)
    12. การติดตามเยี่ยมบ้านผู้เจ็บป่วยทางจิตในชุมชนภายหลังกลับคืนสู่สังคม (สุธีกาญจน์ ไชยลาภ และ อังสนา วิริยะโกศล เป็นหัวหน้าโครงการ ได้รับทุนสนับสนุนการวิจัยจากคณะพยาบาลศาสตร์เกื้อการุณย์ พ.ศ. 2558)
    13. ประสิทธิผลของการอบรมต่อสมรรถนะของแกนนำนักศึกษาพยาบาลในการเตรียมความพร้อมเพื่อรับมือกับภัยพิบัติในเขตกรุงเทพมหานคร (ดำเนินงานโครงการ พ.ศ. 2558)
    14. การพัฒนาศักยภาพแกนนำนักศึกษาพยาบาลในการป้องกันและควบคุมยาสูบในสถานศึกษา
    (เป็นหัวหน้าโครงการ ได้รับทุนสนับสนุนการวิจัยจากกองทุนวิจัยเพื่อการไม่สูบบุหรี่ พ.ศ. 2558)
    15. โครงการวิจัยระดับชาติเรื่องติดตามประเมินผลหมอประจำครอบครัว (เป็นนักวิจัยร่วม อยู่ระหว่างดำเนินงานโครงการ)
    16. โครงการศึกษาสุขภาวะทางกาย จิตและสังคม ความต้องการและการเตรียมความพร้อมของผู้สูงอายุในเขตเมือง กรุงเทพมหานคร (หัวหน้าโครงการ)
    4.3 งานแปลหนังสือ
    1. สุธีกาญจน์ ไชยลาภ .(2539). “ภาวะการมีรอบเดือนของสตรี การทำงานและชนชั้นทางสังคม”. (แปลจากหนังสือชื่อ The Woman in the Body : A Cultural Analysis of Reproduction Chapter 6 เรื่อง Menstruation, Work, and Class โดยผู้แต่งชื่อ Emily Martin หน้า 92-112). เบญจวรรณ กำธรวัชระ บรรณาธิการ, กรุงเทพมหานคร : โรงพิมพ์คณะสังคมศาสตร์และมนุษยศาสตร์ มหาวิทยาลัยมหิดล ,73 – 85.
    4.4 โครงการตำราทางวิชาการ
    1. วรุณวรรณ ผาโคตร, สิรนาถ นุชนาถ และ สุธีกาญจน์ ไชยลาภ. (2548). ศัพท์ : สุขภาพจิตและเวชปฏิบัติทางจิตเวชศาสตร์. กรุงเทพมหานคร : โรงพิมพ์กรุงเทพมหานคร : โรงพิมพ์ บริษัทเคเอสพี การพิมพ์จำกัด (ISBN 974-9565-53-3 ) จำนวนหน้า 496 หน้า
    2. ตำราการพยาบาลสุขภาพจิตและจิตเวชศาสตร์ อยู่ในระหว่างดำเนินการ คาดว่าจะแล้วเสร็จในปี
    พ.ศ. 2561.
    3. งานแปลหนังสือ เรื่อง Stress and health : Theoretical perspectives ผลงานแปลโดย Assst.
    Prof Dr. Suteekarn Chaiyalap and Dr. Thomas Kay (อยู่ระหว่างการตรวจทานแก้ไข)
    4. หนังสือเรื่องการพยาบาลผู้ป่วยสูญเสียและเศร้าโศก ภาวะซึมเศร้า การพยายามฆ่าตัวตาย (อยู่
    ระหว่างการตรวจทานแก้ไข)

    5. ประสบการณ์ดูงานและการนำเสนองานวิจัยในต่างประเทศ
    1. นำเสนองานวิจัย เข้าร่วมนำเสนอผลงานวิชาการเรื่อง “Factors influencing work stress in health care providers” ในงานประชุม Workforce development : Sharing lesson learnt ณ เมือง Melbourne ประเทศออสเตรเลีย ปี พ.ศ. 2550
    2. International Mental Health Conference และนำเสนอผลงานวิจัยเรื่อง Effectiveness of group activity via Buddhist Perspective to rehabilitative in people with mental illness และ Effectiveness of self-stress management program in psychiatric patients ณ เมืองโกลด์โคสต์ ประเทศออสเตรเลีย ระหว่างเดือนสิงหาคม พ.ศ. 2556
    3. ดูงานด้านการวิจัยที่มหาวิทยาลัยฉือจี้ และมหาวิทยาลัยการแพทย์ ที่ได้รับการรับรองจาก Sidcer Fercap ประเทศไต้หวัน
    4. ดูงานด้านการวิจัยที่คณะแพทยศาสตร์พระมงกุฏเกล้า
    5. ดูงานด้านการวิจัยที่มหาวิทยาลัยสงขลานครินทร์
    6. ดูงานด้านการวิจัยที่โรงพยาบาลภูเก็ต
    7. ดูงานด้านการศึกษาที่มหาวิทยาลัยเชียงใหม่
    8. ดูงานด้านการศึกษาที่มหาวิทยาลัยราชภัฏเชียงใหม่
    9. ดูงานด้านการศึกษาที่มหาวิทยาลัยเทคโนโลยีราชมงคลล้านนา
    10. ดูงาน รพ. สุรินทร์ รพ.อุบลราชธานี และ สสจ.อุบลราชธานี
    11. รางวัลชมเชย การนำเสนอผลงานวิจัยเรื่อง ประสิทธิผลของโปรแกรมจิตบำบัดแนวพุทธในการฟื้นฟูสมรรถภาพทางจิตในผู้เจ็บป่วยทางจิตเรื้อรังภายหลังกลับคืนสู่สังคม จัดโดย สำนักการแพทย์ กรุงเทพมหานคร ปี 2555
    12. กรรมการตรวจทานรายงานประชุมวิชาการประจำปี 2554 และรองประธานห้องการนำเสนอผลงานวิจัย ประชุมวิชาการประจำปี 2554 จัดโดยสำนักการแพทย์
    13. ดูงานด้านการจัดการเรียนการสอนด้านการพยาบาลที่ Shaw Nursing College และ Baw Valley College และดูงานด้านสิ่งแวดล้อมที่ Swan Lake มลรัฐแคลแกรี ประเทศแคนาดา
    6. กรรมการ วิทยากรและอาจารย์พิเศษ
    1. เป็นอนุกรรมการเครือข่ายการพัฒนาบัณฑิตอุดมคติไทย เขตภาคกลาง สำนักงานคณะกรรมการการศึกษาแห่งชาติ
    2. คณะอนุกรรมการพิจารณาและควบคุมจริยธรรมวิจัยในคน สำนักการแพทย์ กรุงเทพมหานคร
    3. คณะกรรมการยกร่างระเบียบวิธีวิจัยในคน กรุงเทพมหานคร
    4. คณะกรรมการและเลขานุการคณะกรรมการพิจารณาและควบคุมวิจัยของคณะพยาบาลศาสตร์เกื้อการุณย์ มหาวิทยาลัยกรุงเทพมหานคร
    5. กรรมการพัฒนาหลักสูตรพยาบาลศาสตร์ และสร้างรายวิชาวิถีชีวิตคนเมืองบรรจุไว้ในหลักสูตรเพื่อให้สอดคล้องกับพันธกิจและวิสัยทัศน์ของคณะฯและมหาวิทยาลัย
    6. เป็นที่ปรึกษาและอบรมวิจัยให้บุคลากรในคณะ และบุคลากรทางการแพทย์โรงพยาบาลในสังกัดสำนักการแพทย์ กรุงเทพมหานคร เช่น รพ. สิรินทร ,รพ. ราชพิพัฒน์ และรพ.เวศการุณย์รัศม์
    7. เป็นอาจารย์พิเศษและผู้ทรงคุณวุฒิในการสอบป้องกันวิทยานิพนธ์และตรวจเครื่องมือวิจัยในสถาบันการศึกษาต่างๆ เช่น อาจารย์นักศึกษาปริญญาตรี-โท-เอก ดังนี้
    7.1 คณะศึกษาศาสตร์ มหาวิทยาลัยศิลปากร นครปฐม
    7.2 คณะวิทยาศาสตร์สุขภาพ มหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราช
    7.3 คณะสังคมศาสตร์และมนุษยศาสตร์ มหาวิทยาลัยมหิดล
    7.4 คณะแพทยศาสตร์ มหาวิทยาลัยมหิดล
    7.5 คณะสังคมศาสตร์ มหาวิทยาลัยราชภัฏจันทรเกษมและนครปฐม
    7.6 คณะแพทยศาสตร์วชิรพยาบาล ปีที่ 3 มหาวิทยาลัยนวมินทราธิราช หัวข้อ ปัญหาสังคมและกรณีศึกษาความเครียดจากการประกอบอาชีพในบริบทกระบวนการแรงงาน
    7.7 ฝ่ายการพยาบาล มหาวิทยาลัยนวมินทราธิราช หัวข้อ การพยาบาลด้านจิตใจในผู้ป่วยมะเร็ง
    8. เป็นผู้ประสานงานหลักโครงการเผยแพร่ความรู้ทางสุขภาพผ่านรายการวิทยุกระจายเสียงกรุงเทพมหานคร
    9. เป็นกรรมการพัฒนาสุนทรียภาพและนวัตกรรมทางด้านศิลปวัฒนธรรมและสภาพแวดล้อมที่น่าอยู่ขององค์การ
    10. เป็นกรรมการด้านการจัดการความรู้ด้านการวิจัยของคณะพยาบาลศาสตร์เกื้อการุณย์
    11.เป็นที่ปรึกษาโครงงานนักศึกษา รายวิชาการศึกษาทั่วไป ของหลักสูตรพยาบาลศาสตร์
    12. เป็นกรรมการกลั่นกรองผลงานวิชาการ คณะพยาบาลศาสตร์เกื้อการุณย์
    13. เป็นกรรมการและเลขานุการคระอนุกรรมการพิจารณาโครงร่างวิจัย ของคณะฯ ปี 2555
    14. เป็นกรรมการพิจารณาและควบคุมวิจัยของคณะ ปี 2555 ถึงปัจจุบัน
    15. เป็นกรรมการประเมินผลการสอนของอาจารย์เพื่อขอผลงานทางวิชาการของคณะ ปีพ.ศ. 2556-ปัจจุบัน
    16. เป็นกรรมการกองบรรณาธิการ วารสารเกื้อการุณย์ ปีพ.ศ. 2557-2558
    17. เป็นกรรมการผู้ทรงคุณวุฒิสาขาสังคมศาสตร์ คณะกรรมการสภาวิชาการ มหาวิทยาลัยนวมินทราธิราช ปีพ.ศ. 2556-ปัจจุบัน
    18. เป็นกรรมการตรวจผลงานเพื่อขอตำแหน่งทางวิชาการ วิทยาลัยพยาบาลตำรวจ และข้าราชการสายงานพยาบาล โรงพยาบาลตำรวจ
    19. เป็นกรรมการบริหารหลักสูตรและอาจารย์ผู้รับผิดชอบหลักสูตรของคณะพยาบาลศาสตร์เกื้อการุณย์ และคณะครุศาสตร์ หลักสูตรจิตวิทยากับการพัฒนาประเทศ มหาวิทยาลัยศิลปากร พ.ศ. 2559- ปัจจุบัน
    20. เป็นวิทยากรอบรมความรู้เส้นทางสู่การทำวิจัยแก่บุคลากรพยาบาล โรงพยาบาลสิรินทร และเจริญกรุงประชารักษ์ สำนักการแพทย์ กรุงเทพมหานครพ.ศ. 2558- 2559
    21. เป็นผู้ทรงคุณวุฒิในการประเมินผลงานทางวิชาการเพื่อกำหนดตำแหน่งพยาบาลชำนาญการพิเศษของกรมการปกครองส่วนท้องถิ่น กระทรวงมหาดไทย พ.ศ. 2560- ปัจจุบัน
    7. ความสามารถพิเศษและรางวัล
    1. ทุนเรียนดี วิชาต่างๆในภาควิชาการพยาบาลอายุรศาสตร์ศัลยศาสตร์ การพยาบาลศัลยประสาท
    2. คุณแม่ดีเด่น จากโรงเรียนอนุบาลอรุณรัตน์ สังกัดกระทรวงศึกษาธิการ
    3. พูด-อ่าน-เขียนภาษาอังกฤษ และพูดภาษาจีนได้
    4. มีความสามารถในการทำงานชุมชนเป็นอย่างดี มีข้อมูลในการทำงานเครือข่ายในชุมชนสุขภาพและรวดเร็ว
    5. รางวัลชมเชย การนำเสนอผลงานวิจัยเรื่อง ประสิทธิผลของโปรแกรมจิตบำบัดแนวพุทธในการฟื้นฟูสมรรถภาพทางจิตในผู้เจ็บป่วยทางจิตเรื้อรังภายหลังกลับคืนสู่สังคม จัดโดย สำนักการแพทย์ กรุงเทพมหานคร ปี 2555
    6. บุคลากรดีเด่น คณะพยาบาลศาสตร์เกื้อการุณย์ ปี พ.ศ. 2555

    มหาวิทยาลัยนวมินทราธิราช

    พ.ศ. 2560 - พ.ศ. 543


    ผู้ช่วยศาสตราจารย์
    หัวหน้าภาควิชา
    ภาควิชาการพยาบาลจิตเวชศาสตร์

    มหาวิทยาลัยนวมินทราธิราช

    พ.ศ. 2549 - พ.ศ. 2560


    ผู้ช่วยศาสตราจารย์
    อาจารย์
    ภาควิชาการพยาบาลจิตเวชศาสตร์

    คณะพยาบาลศาสตร์เกื้อการุณย์

    พ.ศ. 2535 - พ.ศ. 543


    ผู้ช่วยศาสตราจารย์
    ภาควิชาการพยาบาลจิตเวชศาสตร์

    คณะพยาบาลศาสตร์เกื้อการุณย์