ทำงานโดยรักษาความถูกต้องมากกว่าความถูกใจ
ชื่อ | ผู้ช่วยศาสตราจารย์พีรนันท์ วิศาลสกุลวงษ์ |
---|---|
ตำแหน่ง | อาจารย์ ภาควิชาการพยาบาลมารดา ทารกและการผดุงครรภ์ |
อีเมล | peeranan@nmu.ac.th |
ที่อยู่ |
คณะพยาบาลศาสตร์เกื้อการุณย์ มหาวิทยาลัยนวมินทราธิราช 131/5 ถนนขาว แขวงวชิรพยาบาล เขตดุสิต กรุงเทพมหานคร 10300 |
โทร | 02 2416500-9 ต่อ 8213 |
1) การพัฒนาบทเรียนสอนเสริมออนไลน์ผ่านสื่อแอปพลิเคชันไลน์ รายวิชาการพยาบาลมารดาและทารก สำหรับนักศึกษาพยาบาล คณะพยาบาลศาสตร์เกื้อการุณย์.
จรรยาลักษณ์ สุขแจ่ม, พีรนันท์ วิศาลสกุลวงษ์, ปิยธิดา ศรีพงษ์สุทธิ์ (หัวหน้าโครงการวิจัย).
กองทุนมหาวิทยาลัยนวมินทราธิราช. 2565.
2) ผลของโปรแกรมการดูแลแบบต่อเนื่อง โดยพยาบาลผดุงครรภ์ร่วมกับการใช้แอปพลิเคชันไลน์ ต่อพฤติกรรมป้องกันการคลอดก่อนกำหนดและอายุครรภ์เมื่อคลอดของสตรีตั้งครรภ์วัยรุ่นในเขตเมือง.
พีรนันท์ วิศาลสกุลวงษ์, ปาริชาติ ทาโน (หัวหน้าโครงการวิจัย).
กองทุนมหาวิทยาลัยนวมินทราธิราช. 2564.
3) นวัตกรรมสนับสนุนการเรียนรู้ผ่านเว็บต่อความรู้ในการคลอดปกติ การเรียนรู้ด้วยตนเองและการกำกับตนเอง และทัศนคติของนักศึกษาพยาบาลในเขตเมือง.
พีรนันท์ วิศาลสกุลวงษ์, วารีรัตน์ จิตติถาวร (หัวหน้าโครงการวิจัย).
กองทุนมหาวิทยาลัยนวมินทราธิราช. 2563.
4) การเรียนรู้ผ่านการสะท้อนคิดในการปฏิบัติการพยาบาลมารดาและทารก: ประสบการณ์การเรียนรู้ของนักศึกษาพยาบาลในหน่วยฝากครรภ์.
จรรยาลักษณ์ สุขแจ่ม, วรณัน รื่นพรต, พีรนันท์ วิศาลสกุลวงษ์ (หัวหน้าโครงการวิจัย).
กองทุนมหาวิทยาลัยนวมินทราธิราช. 2562.
5) ผลของการเรียนรู้ผ่านการสะท้อนคิดต่ออภิปัญญาของนักศึกษาพยาบาลในห้องคลอด.
พีรนันท์ วิศาลสกุลวงษ์, ปาริชาติ ทาโน (หัวหน้าโครงการวิจัย).
กองทุนมหาวิทยาลัยนวมินทราธิราช. 2562.
6) การพัฒนารูปแบบการเรียนการสอนเสริม ผ่านสื่อออนไลน์เฟซบุ๊คกรุ๊ปในวิชาการพยาบาลผดุงครรภ์ 2.
สุมิตตา สว่างทุกข์, มณีรัตน์ พราหมณี, พีรนันท์ วิศาลสกุลวงษ์ (หัวหน้าโครงการวิจัย).
กองทุนมหาวิทยาลัยนวมินทราธิราช. 2559.
7) ความต้องการศึกษาต่อทางการพยาบาลวิชาชีพในเขตกรุงเทพมหานคร.
พีรนันท์ วิศาลสกุลวงษ์, จารุภา จิรโสภณ, จันทรรัตน์ วงศ์อารีย์สวัสดิ์, นุศ ทิพย์แสนคำ, ยุพา วงศ์รสไตร, พวงผกา กรีทอง, เบญจมาศ ตระกูลงามเด่น, รัตนา จารุวรรโณ (หัวหน้าโครงการวิจัย).
กองทุนมหาวิทยาลัยนวมินทราธิราช. 2559.
1) โมเดลความสัมพันธ์เชิงสาเหตุของปัจจัยที่ส่งผลต่อการปรับตัวด้านบทบาทการเป็นมารดาของมารดาวัยรุ่น.
อารยา เชียงของ, พีรนันท์ วิศาลสกุลวงษ์, วรณัน รื่นพรต, พรทิพย์ สุนทรนันท, ชาริน สุวรรณวงศ์, สุภาพ ไทยแท้ (หัวหน้าโครงการวิจัย).
สำนักงานคณะกรรมการส่งเสริมวิทยาศาสตร์ วิจัยและนวัตกรรม. 2566.
1) Self-directed learning about normal birth with web-based support for nurse-midwife students in Thailand: A mixed methods study.
Jittitaworn, W., Wisanskoonwong, P.. (2023).
Midwifery, 0(126), 10381-10381.
1) ผลของโปรแกรมการดูแลแบบต่อเนื่องโดยพยาบาลผดุงครรภ์ร่วมกับการใช้แอปพลิเคชันไลน์ต่อพฤติกรรมป้องกันการคลอดก่อนกําหนดและอายุครรภ์เมื่อคลอดของสตรีตั้งครรภ์วัยรุ่นในเขตเมือง.
ปาริชาติ ทาโน, พีรนันท์ วิศาลสกุลวงษ์. (2567).
วารสารเครือข่ายวิทยาลัยพยาบาลและการสาธารณสุขภาคใต้, 11(1), 0-0.
2) การเรียนรู้ผ่านการสะท้อนคิดของนักศึกษาพยาบาลในหน่วยฝากครรภ์:การศึกษาเฉพาะกรณีเชิงคุณภาพ.
พีรนันท์ วิศาลสกุลวงษ์, จรรยาลักษณ์ สุขแจ่ม, วรณัน รื่นพรต. (2564).
วารสารเครือข่ายวิทยาลัยพยาบาลและการสาธารณสุขภาคใต้, 8(1), 234-249.
3) ผลของการเรียนรู้ผ่านการสะท้อนคิดต่ออภิปัญญาของนักศึกษาพยาบาลในห้องคลอด.
พีรนันท์ วิศาลสกุลวงษ์, ปาริชาติ ทาโน. (2563).
วารสารพยาบาลตำรวจ, 12(2), 398-408.
4) ผลของการจัดท่าศีรษะสูงร่วมกับการประคบร้อนต่อความเจ็บปวด และระยะเวลาของระยะปากมดลูกเปิดเร็วในผู้คลอดครรภ์แรก.
สุนิดา ชัยติกุล, พีรนันท์ วิศาลสกุลวงษ์. (2562).
วารสารการพยาบาลและการดูแลสุขภาพ, 37(3), 39-48.
5) ความต้องการการศึกษาต่อทางการพยาบาลของพยาบาลวิชาชีพในเขตกรุงเทพมหานคร.
รัตนา จารุวรรโณ, พีรนันท์ วิศาลสกุลวงษ์, จารุภา จิรโสภณ, จันทรรัตน์ วงศ์อารีย์สวัสดิ์, นุศ ทิพย์แสนคำ, ยุพา วงศ์รสไตร, พวงผกา กรีทอง, เบญจมาศ ตระกูลงามเด่น. (2561).
วารสารเกื้อการุณย์, 25(1), 7-24.
6) การเรียนรู้ผ่านการสะท้อนกลับการปฏิบัติของนักศึกษาพยาบาลในห้องคลอด: วิจัยเชิงคุณภาพ.
พีรนันท์ วิศาลสกุลวงษ์, สุมิตตา สว่างทุกข์. (2558).
วารสารเกื้อการุณย์, 22(2), 57-70.
1) การพัฒนารูปแบบการเรียนการสอนเสริมผ่านสื่อออนไลน์ เฟซบุ๊กกรุ๊ปวิชาการพยาบาลผดุงครรภ์ 2.
พีรนันท์ วิศาลสกุลวงษ์, สุมิตตา สว่างทุกข์, มณีรัตน์ พราหมณี. (2563).
วารสารการพยาบาลและการดูแลสุขภาพ, 38(1), 97-106.