การบรรเทาทุกข์แก่ผู้อื่น เป็นความสุขอย่างยิ่งของเรา
ชื่อ | ผู้ช่วยศาสตราจารย์ภัทรสิริ พจมานพงศ์ |
---|---|
ตำแหน่ง | อาจารย์ ภาควิชาการพยาบาลอายุรศาสตร์และศัลยศาสตร์ |
อีเมล | pattarasiri@nmu.ac.th |
ที่อยู่ |
คณะพยาบาลศาสตร์เกื้อการุณย์ มหาวิทยาลัยนวมินทราธิราช 131/5 ถนนขาว แขวงวชิรพยาบาล เขตดุสิต กรุงเทพมหานคร 10300 |
โทร | 02 2416500-9 ต่อ 3108 |
1) ปัจจัยที่มีผลต่อการเสริมสร้างความรอบรู้ด้านการฟื้นฟูสมรรถภาพหัวใจในผู้ดูแลผู้สูงอายุโรคกล้ามเนื้อหัวใจขาดเลือด ในเขตเมือง.
ชยุดา ขอเจริญ, ภัทรสิริ พจมานพงศ์ (หัวหน้าโครงการวิจัย).
กองทุนมหาวิทยาลัยนวมินทราธิราช. 2564.
2) ความรอบรู้ด้านสุขภาพการฟื้นฟูสมรรถภาพหัวใจในผู้ป่วยสูงอายุโรคกล้ามเนื้อหัวใจขาดเลือดในเขตเมือง : การวิจัยผสานวิธี.
ยุพา วงศ์รสไตร, พิรุณนภา เบ็ญพาด, ชยุดา ขอเจริญ, กิตติกร นิลมานัต, ภัทรสิริ พจมานพงศ์ (หัวหน้าโครงการวิจัย).
กองทุนมหาวิทยาลัยนวมินทราธิราช. 2564.
3) พฤติกรรมการบริโภคอาหารกับโรคไม่ติดต่อของบุคลากรการแพทย์ในเขตเมือง.
ยุพา วงศ์รสไตร, ภัทรสิริ พจมานพงศ์, พิรุณนภา เบ็ญพาด (หัวหน้าโครงการวิจัย).
กองทุนมหาวิทยาลัยนวมินทราธิราช. 2564.
4) ความสัมพันธ์ที่มีผลต่อคุณลักษณะที่พึงประสงค์ด้านคุณธรรมของนักศึกษามหาวิทยาลัยนวมินทราธิราช.
ภัทรสิริ พจมานพงศ์, วราภรณ์ ดีน้ำจืด (หัวหน้าโครงการวิจัย).
กองทุนมหาวิทยาลัยนวมินทราธิราช. 2564.
5) ปัจจัยที่เกี่ยวข้องกับการเข้าถึงบริการล่าช้าของผู้ป่วยโรคกล้ามเนื้อหัวใจขาดเลือดชนิด เอสทียก ของโรงพยาบาลในสำนักการแพทย์ กรุงเทพมหานคร และคณะแพทย์ศาสตร์วชิรพยาบาล มหาวิทยาลัยนวมินทราธิราช.
ยุพา วงศ์รสไตร, เบญจมาศ ตระกูลงามเด่น, ดวงกมล สุขทองสา, ภัทรสิริ พจมานพงศ์ (หัวหน้าโครงการวิจัย).
กองทุนมหาวิทยาลัยนวมินทราธิราช. 2561.
1) การพัฒนารูปแบบการเตรียมพร้อมที่จะเข้าสู่วัยสูงอายุในชุมชนเมือง.
ภัทรสิริ พจมานพงศ์, ดวงรัตน์ กวีนันทชัย, พิรุณนภา เบ็ญพาด, นพวรรณ เปียซื่อ , ยุพา วงศ์รสไตร (หัวหน้าโครงการวิจัย).
สำนักงานคณะกรรมการส่งเสริมวิทยาศาสตร์ วิจัยและนวัตกรรม. 2565.
1) ผลของโปรแกรมส่งเสริมสมรรถนะแห่งตนร่วมกับแรงสนับสนุนของครอบครัวต่อความร่วมมือในการรักษาของผู้ป่วยที่ได้รับการใส่เครื่องกระตุ้นหัวใจแบบถาว.
ภัทรสิริ พจมานพงศ์, ชยุดา ขอเจริญ , ธีธัช อนันต์วัฒนสุข. (2566).
วารสารวิจัยสุขภาพและการพยาบาล, 39(3), 126-137.
2) พฤติกรรมการบริโภคอาหารกับโรคไม่ติดต่อของบุคลากรการแพทย์ในเขตเมือง.
พิรุณนภา เบ็ญพาด, ยุพา วงศ์รสไตร, ภัทรสิริ พจมานพงศ์, กลวิชย์ ตรองตระกูล, ปิยะรัตน์ ไพรัชเวทย์. (2565).
วารสารพยาบาลทหารบก, 23(2), 137-148.
3) ปัจจัยทำนายความรอบรู้ในการฟื้นฟูสมรรถภาพหัวใจของผู้สูงอายุ โรคกล้ามเนื้อหัวใจขาดเลือดในเขตเมือง.
ภัทรสิริ พจมานพงศ์, ชยุดา ขอเจริญ, ยุพา วงศ์รสไตร, พิรุณนภา เบ็ญพาด, กิตติกร นิลมานัต. (2565).
วารสารพยาบาลสงขลานครินทร์, 42(2), 148-162.
4) ปัจจัยที่มีผลต่อความรอบรู้ด้านการฟื้นฟูสมรรถภาพหัวใจของผู้ดูแลผู้สูงอายุโรคกล้ามเนื้อหัวใจขาดเลือด ในเขตเมือง.
ภัทรสิริ พจมานพงศ์, วิชุดา ขอเจริญ. (2564).
วารสารแพทย์นาวี, 48(3), 685-702.
5) การดูแลแบบประคับประคองอย่างต่อเนื่องจากโรงพยาบาลสู่บ้านในบริบทภาคใต้.
กิตติกร นิลมานัต, มลธิรา อุดชุมพิสัย, ภัทรสิริ พจมานพงศ์, นิภา นิยมไทย . (2562).
วารสารสภาการพยาบาล, 34(2), 76-93.
6) แนวทางการสร้างเสริมสุขภาพโดยแบ่งตามลักษณะองค์ประกอบด้านร่างกายของผู้สูงอายุสมาชิกศูนย์ส่งเสริมสุขภาพและฟื้นฟูสุขภาพผู้สูงอายุ คณะพยาบาลศาสตร์ มหาวิทยาลัยสงขลานครินทร์.
ภัทรสิริ พจมานพงศ์. (2562).
วารสารพยาบาลศาสตร์ มหาวิทยาลัยสยาม, 20(39), 73-87.
7) ปัจจัยที่เกี่ยวข้องกับการเข้าถึงบริการล่าช้าของผู้ป่วยโรคกล้ามเนื้อหัวใจตามชนิดเอสทียก ของโรงพยาบาลในสังกัดสำนักการแพทย์ กรุงเทพมหานคร.
ภัทรสิริ พจมานพงศ์, ดวงกมล สุขทองสา, เบญจมาศ ตระกูลงามเด่น, ยุพา วงศ์รสไตร. (2562).
วารสารพยาบาลโรคหัวใจและทรวงอก, 30(2), 159-175.