การบรรเทาทุกข์แก่ผู้อื่น เป็นความสุขอย่างยิ่งของเรา
ชื่อ | ผู้ช่วยศาสตราจารย์ปราลีณา ทองศรี |
---|---|
ตำแหน่ง | อาจารย์ ภาควิชาการพยาบาลสาธารณสุขศาสตร์และเวชศาสตร์เขตเมือง |
อีเมล | pralee@hotmail.com |
ที่อยู่ |
คณะพยาบาลศาสตร์เกื้อการุณย์ มหาวิทยาลัยนวมินทราธิราช 131/5 ถนนขาว แขวงวชิรพยาบาล เขตดุสิต กรุงเทพมหานคร 10300 |
โทร | 02 2416500-9 |
1) การพัฒนานวัตกรรมการสื่อสารเพื่อพัฒนางานบริการสุขภาพระดับปฐมภูมิในเขตเมือง.
ปราลีณา ทองศรี, ยศศิริ ยศธร, อารยา เชียงของ (หัวหน้าโครงการวิจัย).
กองทุนมหาวิทยาลัยนวมินทราธิราช. 2564.
2) ประสบการณ์การใช้ยาอย่างสมเหตุผลของพยาบาลวิชาชีพในสถานประกอบการ: การศึกษาเชิงปรากฎการณ์วิทยา.
ปราลีณา ทองศรี, บุษกร สีหรัตนปทุม (หัวหน้าโครงการวิจัย).
กองทุนมหาวิทยาลัยนวมินทราธิราช. 2564.
3) การพัฒนาสื่อด้านสุขภาพเรื่องการรับประทานยาโรคความดันโลหิตสูงในผู้สูงอายุ.
ปราลีณา ทองศรี, อภิชญา ก้งซ่า (หัวหน้าโครงการวิจัย).
กองทุนมหาวิทยาลัยนวมินทราธิราช. 2564.
4) รูปแบบความสัมพันธ์เชิงสาเหตุของปัจจัยที่ส่งผลต่อภาวะซึมเศร้าในตำรวจนครบาลที่ปฎิบัติงานด้านจราจร.
อารยา เชียงของ, ธนยศ สุมาลย์โรจน์, ปราลีณา ทองศรี (หัวหน้าโครงการวิจัย).
กองทุนมหาวิทยาลัยนวมินทราธิราช. 2560.
5) ความรอบรู้ทางสุขภาพในการป้องกันโรคมะเร็งปากมดลูกและโรคมะเร็งเต้านมของกลุ่มสตรีวัยเจริญพันธุ์ เขตกรุงเทพมหานคร.
อนงค์นุช สารจันทร์, ปราลีณา ทองศรี, ฐาพัชร์ลดา เกียรติเลิศเดชา (หัวหน้าโครงการวิจัย).
กองทุนมหาวิทยาลัยนวมินทราธิราช. 2560.
6) รูปแบบความสัมพันธ์เชิงสาเหตุของปัจจัยที่ส่งผลต่อการป้องกันพฤติกรรมเสี่ยงทางเพศของวัยรุ่นหญิงในเขตกรุงเทพมหานคร: การวิจัยแบบผสานวิธี.
ปราลีณา ทองศรี, ชะไมพร ธรรมวาสี, อารยา เชียงของ (หัวหน้าโครงการวิจัย).
โครงการส่งเสริมและพัฒนางานวิจัยคณะพยาบาลฯ. 2559.
1) Perceptions of Medication Adherence among Elderly Patients with Hypertension in Bangkok: A Qualitative Study.
Thongsri, P., Kongsa, A., Chiangkhong, A., Chongjarearn, A. (2024).
The Open Public Health Journal, 17, 1-9.
1) ประสบการณ์การใช้ยาอย่างสมเหตุผลของพยาบาลวิชาชีพในสถานประกอบการเอกชน: การศึกษาเชิงปรากฏการณ์วิทยา.
บุษกร สีหรัตนปทุม, ปราลีณา ทองศรี, อารยา เชียงของ. (2566).
วารสารพยาบาล, 72(3), 11-20.
2) ความรอบรู้ทางสุขภาพในการป้องกันโรคมะเร็งเต้านมและโรคมะเร็งปากมดลูก:กรณีศึกษาการสร้างเสริมความรอบรู้ทางสุขภาพของสตรีวัยเจริญพันธุ์ในเขตกรุงเทพมหานคร.
ฐาพัชร์ลดา เกียรติเลิศเดชา, อารยา เชียงของ, ปราลีณา ทองศรี, อนุงค์นุช สารจันทร์. (2564).
วารสารเครือข่ายวิทยาลัยพยาบาลและการสาธารณสุขภาคใต้, 8(1), 211-221.
3) ผลของโปรแกรมการปรับเปลี่ยนพฤติกรรมการสร้างเสริมสุขภาพต่อการรับรู้ความสามารถในตนเอง พฤติกรรมการสร้างเสริมสุขภาพและภาวะสุขภาพของผู้ป่วยโรคความดันโลหิตสูงในชุมชน.
วัลยา ตูพานิช, ปราลีณา ทองศรี. (2562).
วารสารวชิรเวชสารและวารสารเวชศาสตร์เขตเมือง, 63(เพิ่มเติม), 93-104.
4) การพัฒนาและตรวจสอบคุณภาพของแบบวัดความรอบรู้ทางสุขภาพ ในการป้องกันโรคมะเร็งปากมดลูกและโรคมะเร็งเต้านมของกลุ่มสตรีวัยเจริญพันธุ์ เขตกรุงเทพมหานคร.
ฐาพัชร์ลดา เกียรติเลิศเดชา, อารยา เชียงของ, ปราลีณา ทองศรี, อนงค์นุช สารจันทร์. (2562).
วชิรเวชสารและวารสารเวชศาสตร์เขตเมือง, 63(เพิ่มเติม), 31-42.
5) ความสัมพันธ์เชิงสาเหตุของปัจจัยที่ส่งผลต่อภาวะซึมเศร้าในตำรวจจราจรเขตนครบาล.
ปราลีณา ทองศรี, อารยา เชียงของ, ธนยศ สุมาลย์โรจน. (2561).
วารสารพยาบาลสาธารณสุข, 32(1), 59-76.
6) รูปแบบความสัมพันธ์เชิงสาเหตุของปัจจัยที่ส่งผลต่อพฤติกรรมป้องกันความเสี่ยงทางเพศของวัยรุ่นหญิงในเขตกรุงเทพมหานคร : การวิจัยแบบผสานวิธี.
อารยา เชียงของ, ปราลีณา ทองศรี, ชะไมพร ธรรมวาสี. (2561).
วารสารพยาบาลสาธารณสุข, 32(2), 1-22.