การบรรเทาทุกข์แก่ผู้อื่น เป็นความสุขอย่างยิ่งของเรา
ชื่อ | ผศ.ดร.อารยา เชียงของ |
---|---|
ตำแหน่ง | อาจารย์ ภาควิชาการพยาบาลสาธารณสุขศาสตร์และเวชศาสตร์เขตเมือง |
อีเมล | Achaiankhong@gmail.com |
ที่อยู่ |
คณะพยาบาลศาสตร์เกื้อการุณย์ มหาวิทยาลัยนวมินทราธิราช 131/5 ถนนขาว แขวงวชิรพยาบาล เขตดุสิต กรุงเทพมหานคร 10300 |
โทร | 02 2416500-9 |
1) การพัฒนานวัตกรรมการสื่อสารเพื่อพัฒนางานบริการสุขภาพระดับปฐมภูมิในเขตเมือง.
อารยา เชียงของ (หัวหน้าโครงการวิจัย), ปราลีณา ทองศรี, ยศศิริ ยศธร.
กองทุนมหาวิทยาลัยนวมินทราธิราช. 2564.
2) ปัจจัยที่มีอิธิพลต่อการกลับเป็นซ้ำของผู้ป่วยโรคหลอดเลือดสมองในกลุ่มวัยทำงาน.
ยุพา วงศ์รสไตร (หัวหน้าโครงการวิจัย), อารยา เชียงของ.
กองทุนมหาวิทยาลัยนวมินทราธิราช. 2564.
3) การพัฒนาระบบสุขภาพที่ส่งเสริมความรอบรู้ทางสุขภาพสู่ระดับวิจารณญาณของประชากรในเขตกรุงเทพมหานคร.
อารยา เชียงของ (หัวหน้าโครงการวิจัย), ชนิภา ยอยืนยง, อรุณี เฮงยศมาก.
กองทุนมหาวิทยาลัยนวมินทราธิราช. 2560.
4) รูปแบบความสัมพันธ์เชิงสาเหตุของปัจจัยที่ส่งผลต่อภาวะซึมเศร้าในตำรวจนครบาลที่ปฎิบัติงานด้านจราจร.
ปราลีณา ทองศรี (หัวหน้าโครงการวิจัย), อารยา เชียงของ, ธนยศ สุมาลย์โรจน์.
กองทุนมหาวิทยาลัยนวมินทราธิราช. 2560.
5) รูปแบบความสัมพันธ์เชิงสาเหตุของปัจจัยที่ส่งผลต่อการป้องกันพฤติกรรมเสี่ยงทางเพศของวัยรุ่นหญิงในเขตกรุงเทพมหานคร: การวิจัยแบบผสานวิธี.
อารยา เชียงของ (หัวหน้าโครงการวิจัย), ปราลีณา ทองศรี, ชะไมพร ธรรมวาสี.
โครงการส่งเสริมและพัฒนางานวิจัยคณะพยาบาลฯ. 2559.
1) การถอดบทเรียนสุขภาวะที่ดีของชุมชนเลิศสุขสม เขตภาษีเจริญ กรุงเทพมหานคร.
สุภาพ ไทยแท้ (หัวหน้าโครงการวิจัย), ปริญญาภรณ์ ธนะบุญปวง, อารยา เชียงของ.
สำนักงานกองทุนสนับสนุนและสร้างเสริมสุขภาพ. 2562.
1) Development and validation of the Thai mental well-being scale.
Saran Pimthong, Charin Suwanwong, Amaraporn Surakarn, Chiangkhong, A., Thanayot Sumalrot, Anon Khunakorncharatphong f. (2022).
Heliyon, 2(4), 1-6.
2) Self-Reliant Community Development in a Semi-Urban Area of Bangkok: A Case Study of Community Well-Being.
Thaithae, S., Chiangkhong, A., Pridsadaporn Polprasarn. (2021).
The Journal of Behavioral Science, 16(2), 114-127.
3) Effectiveness of Health Literacy through Transformative Learning of Glycemic Control in Diabetic Adults.
Chiangkhong, A., Pattana, K., Patcharee Duangchan, Ann Macaskill. (2019).
The Journal of Behavioral Science, 14(3), 49-61.
1) ความรอบรู้ทางสุขภาพด้านอาชีวอนามัย และการบาดเจ็บจากการทำงาน: กรณีศึกษาพนักงานจัดเรียงสินค้า.
ชนิภา ยอยืนยง, อารยา เชียงของ, นลิณี เชยกลิ่นพุฒ. (2565).
วารสารความปลอดภัยและสุขภาพ, 15(1), 40-57.
2) ประสิทธิผลของโปรแกรมส่งเสริมพฤติกรรมหลีกเลี่ยงการขับขี่รถจักรยานยนต์ในเยาวชนอายุน้อยกว่า 15 ปี.
อมราพร สุรการ, อารยา เชียงของ, วีรพงษ์ พวงเล็ก, ชัยยุทธ กลีบบัว. (2565).
วารสารเกื้อการุณย์, 29(1), 145-159.
3) ความรอบรู้ทางสุขภาพในการป้องกันโรคมะเร็งเต้านมและโรคมะเร็งปากมดลูก:กรณีศึกษาการสร้างเสริมความรอบรู้ทางสุขภาพของสตรีวัยเจริญพันธุ์ในเขตกรุงเทพมหานคร.
ฐาพัชร์ลดา เกียรติเลิศเดชา, อารยา เชียงของ, ปราลีณา ทองศรี, อนุงค์นุช สารจันทร์. (2564).
วารสารเครือข่ายวิทยาลัยพยาบาลและการสาธารณสุขภาคใต้, 8(1), 211-221.
4) ความรอบรู้ทางสุขภาพเพื่อป้องกันโรคเรื้อรังของผุ้ใหญ่ในเขตกรุงเทพมหานคร : กรณีศึกษาเงื่อนไขของการสร้างความรอบรู้ทางสุขภาพ.
นิรมนต์ เหลาสุภาพ, นพัตธร พฤกษาอนันตกาล, จุฬาพร ยาพรม, อารยา เชียงของ. (2564).
วารสารรามาธิบดีพยาบาลสาร, 27(1), 122-135.
5) อนาคตภาพ : แนวทางการให้บริการสุขภาพเพื่อพัฒนาความรอบรู้ทางสุขภาพของผู้ป่วยโรคเรื้อรัง.
อารยา เชียงของ, ชนิภา ยอยืนยง, อรุณี เฮงยศมาก. (2564).
วารสารพยาบาลโรคหัวใจและทรวงอก, 32(2), 217-232.
6) ความรอบรู้ทางสุขภาพในการป้องกันโรคเรื้อรังของกลุ่มผู้ใหญ่ในเขตกรุงเทพมหานคร: การพัฒนาและตรวจสอบคุณภาพของแบบวัด.
นิรมนต์ เหลาสุภาพ, นพัตธร พฤกษาอนันตกาล, จุฬาพร ยาพรม, อารยา เชียงของ. (2563).
วารสารพยาบาลโรคหัวใจและทรวงอก, 31(1), 80-94.
7) การพัฒนาโปรแกรมการสร้างความตระหนักในความปลอดภัยของผู้ป่วยและการพยาบาลที่เน้นความปลอดภัยของผู้ป่วย.
ฉัตรวลัย ใจอารีย์, อารยา เชียงของ. (2562).
วารสารเกื้อการุณย์, 26(2), 22-37.
8) การพัฒนาและตรวจสอบคุณภาพของแบบวัดความรอบรู้ทางสุขภาพ ในการป้องกันโรคมะเร็งปากมดลูกและโรคมะเร็งเต้านมของกลุ่มสตรีวัยเจริญพันธุ์ เขตกรุงเทพมหานคร.
ฐาพัชร์ลดา เกียรติเลิศเดชา, อารยา เชียงของ, ปราลีณา ทองศรี, อนงค์นุช สารจันทร์. (2562).
วชิรเวชสารและวารสารเวชศาสตร์เขตเมือง, 63(เพิ่มเติม), 31-42.
9) ความรอบรู้ทางสุขภาพในการป้องกันโรคจากการประกอบอาชีพของกลุ่มวัยทำงาน เขตกรุงเทพมหานคร: การพัฒนาและตรวจสอบคุณภาพของแบบวัด.
ชนิภา ยอยืนยง, นลิณี เชยกลิ่นพุฒ, อารยา เชียงของ. (2562).
วารสารเกื้อการุณย์, 26(2), 7-21.
10) ความสัมพันธ์เชิงสาเหตุของปัจจัยที่ส่งผลต่อภาวะซึมเศร้าในตำรวจจราจรเขตนครบาล.
ปราลีณา ทองศรี, อารยา เชียงของ, ธนยศ สุมาลย์โรจน. (2561).
วารสารพยาบาลสาธารณสุข, 32(1), 59-76.
11) รูปแบบความสัมพันธ์เชิงสาเหตุของปัจจัยที่ส่งผลต่อพฤติกรรมป้องกันความเสี่ยงทางเพศของวัยรุ่นหญิงในเขตกรุงเทพมหานคร : การวิจัยแบบผสานวิธี.
อารยา เชียงของ, ปราลีณา ทองศรี, ชะไมพร ธรรมวาสี. (2561).
วารสารพยาบาลสาธารณสุข, 32(2), 1-22.
12) ความรอบรู้ทางสุขภาพในผู้ป่วยเบาหวานวัยผู้ใหญ่: ประสบการณ์ของการเป็นผู้ป่วยโรคเบาหวานและมุมมอง ที่เกี่ยวข้องกับความรอบรู้ทางสุขภาพ.
อารยา เชียงของ, พัชรี ดวงจันทร์, อังศินันท์ อินทรกำแหง . (2560).
วารสารเกื้อการุณย์, 24(2), 162-178.
1) Secondhand smoke exposure avoidance behavior among the university students, Dusit district, Bangkok.
Chiangkhong, A., Seaharattanapatum, B., Chet Ratchadapunnathikul. (2021).
The 13th Asia Pacific Conference on Tobacco or Health 2021 (APACT 2021). 0-0.