วารสารวิชาการ

ลำดับ รายการผลงาน ฐานข้อมูลวารสาร แบบยื่นขอใช้ประโยชน์จากงานวิจัย
1 Ngamdee, N., Chumfang, N., Chiangkhong, A., Satasuwan, A. & Sirinate Sukdee. (2024).  Behavioral Patterns and Barriers to Medication Adherence in Older Adults with Diabetes .  International Journal of Geoinformatics20(3), 64-73. ISI
2 Chiangkhong, A., Surakarn, A., Kleebbua, C. & Pounglek, W. (2024).  A Profiles of Motorcycle Accident Mortality and Risk Behavior in Thai Children .  International Journal of Geoinformatics20(3), 54-63. ISI
3 Kongsa, A., Thongsri, P., Chiangkhong, A. & Chongjarearn, A. (2024).  Perceptions of Medication Adherence among Elderly Patients with Hypertension in Bangkok: A Qualitative Study .  The Open Public Health Journal17, 1-9. ISI
4 Ngamyingyod, J., Chiangkhong, A., Rujipairoch, P. & Weerapong Pounglek. (2024).  Exploring dietary supplement consumption behaviors and determinants among the urban Thai elderly .  Journal of Infrastructure, Policy and Development8(8), 1-16. ISI
5 สิทธิเดช สุขแสง, อารยา เชียงของ และสุภาวิตา ภคเอกภัทร. (2567).  การวิจัยเชิงปฏิบัติการแบบมีส่วนร่วมเพื่อส่งเสริมสุขภาพช่องปากเด็กก่อนวัยเรียนในสถานอนามัยเด็กกลาง จังหวัดนนทบุรี .  วารสารวิทยาลัยพยาบาลพระจอมเกล้า จังหวัดเพชรบุรี7(1), 1-17. ISI
6 วรณัน รื่นพรต, อารยา เชียงของ, นิตยา สุขชัยสงค์ และมานิตรา เม่นสิน. (2567).  การสำรวจภาวะยากลำบากที่สับสน: การวิจัยเชิงคุณภาพเกี่ยวกับการเรียนรู้เพื่อการเปลี่ยนแปลงในการฝึกปฏิบัติทางคลินิกของนักศึกษาผดุงครรภ์ .  วารสารพฤติกรรมศาสตร์เพื่อการพัฒนา16(2), 118-134. ISI
7 จิราวรรณ ศิริโสม, อารยา เชียงของ, นิตยา สุขชัยสงค์, และอุบลวนา ขวัญบุญจันทร์. (2567).  ประสบการณ์การเลี้ยงลูกด้วยนมแม่ต่อเนื่องเพียงอย่างเดียวมากกว่า 6 เดือน .  วารสารพยาบาลสภากาชาดไทย17(1), 49-64. ISI
8 สิทธิเดช สุขแสง, อารยา เชียงของ และสิทธิกร ธีระวงศ์วิวัฒน์. (2567).  ประสิทธิผลในการเพิ่มพูนความรู้และระดับความพึงพอใจในการสอนทันตสุขศึกษาด้วยบัญชีทางการของไลน์ของกลุ่มผู้ปกครองในการเรียนรู้การดูแลทำความสะอาดช่องปากของเด็กก่อนวัยเรียน .  พุทธชินราชเวชสาร41(1), 85-95. TCI
9 ปานดวงใจ ไทยดำรงค์เดช, อภิสรา จังพานิช, นพัตธร พฤกษาอนันตกาล และสุดคะนึง ดารานิษร. (2567).  ปัจจัยทำนํายพฤติกรรมการคัดกรองมะเร็งลำไส้ใหญ่และทวารหนักของคนไทยที่อาศัยในกรุงเทพมหานคร .  วารสารพยาบาลทหารบก25(2), 478-486. ISI
10 อังศินันท์ อินทรกำแหง, ขวัญหญิง ศรีประเสริฐภาพ, อารยา เชียงของ, นิวัฒน์ ศรีสวัสดิ์, ปิยะ บูชา และสุพิชชา วงค์จันทร์. (2567).  ผลของการส่งเสริมความรอบรู้ด้านสุขภาพและพฤติกรรมสุขภาพตามหลักพอเพียงของกลุ่มเสี่ยงโรคไม่ติดต่อเรื้อรัง .  วารสารพฤติกรรมศาสตร์เพื่อการพัฒนา16(2), 55-73. ISI
11 พรรณทิวา บุญมี, ขนิษฐา วิศิษฏ์เจริญ, ศุภวรรณ ใจบุญ และดวงรัตน์ กวีนันทชัย. (2567).  ผลของโปรแกรมการจัดการตนเองต่อพฤติกรรมการจัดการตนเองเพื่อชะลอ ภาวะไตเสื่อมของผู้ป่วยโรคเบาหวานในโรงพยาบาลฝาง จังหวัดเชียงใหม่ .  วารสารวิทยาศาสตร์สุขภาพ วิทยาลัยพยาบาลบรมราชชนนี สรรพสิทธิประสงค์8(2), 4-15. ISI
12 นพรัตน์ ศรีสุวิภา และจิรนุช งามยิ่งยศ. (2567).  ผลของโปรแกรมการจัดการตนเองเพื่อการปรับเปลี่ยนพฤติกรรมชีวิตต่อพฤติกรรมการควบคุมระดับน้ำตาลในเลือด และผลลัพธ์ทางสุขภาพของผู้ป่วยโรคเบาหวานชนิดที่ 2 .  วารสารพฤติกรรมศาสตร์30(1), 35-49. ISI
13 ปาริชาติ ทาโน และพีรนันท์ วิศาลสกุลวงษ์. (2567).  ผลของโปรแกรมการดูแลแบบต่อเนื่องโดยพยาบาลผดุงครรภ์ร่วมกับการใช้แอปพลิเคชันไลน์ต่อพฤติกรรมป้องกันการคลอดก่อนกําหนดและอายุครรภ์เมื่อคลอดของสตรีตั้งครรภ์วัยรุ่นในเขตเมือง .  วารสารเครือข่ายวิทยาลัยพยาบาลและการสาธารณสุขภาคใต้11(1), 0-0. ISI
14 ชมัยพร เขื่อนแก้ว, ดวงรัตน์ กวีนันทชัย และศุภวรรณ ใจบุญ. (2567).  ผลของโปรแกรมการสร้างเสริมสมรรถนะของผู้ดูแลต่อความรู้และความสามารถในการดูแลผู้ป่วยกลุ่มเสี่ยงในการเกิดแผลกดทับ .  วารสารพยาบาลทหารบก25(2), 430-439. ISI
15 กิตติญาภรณ์ พันวิไล, สถิตย์ พันวิไล, รดีกร อัครวงศาพัฒน์, ชีพาคม ภาภัทราดล และฉวีวรรณ สระสงค์. (2567).  ลักษณะทางคลินิกของผู้ป่วยโรคติดเชื้อไวรัสโคโรนา 2019 (COVID - 19) ในโรงพยาบาลวชิรพยาบาล ในมุมมองทางการพยาบาล .  วารสารพยาบาลทหารบก25(2), 83-91. ISI
16 อัศนัย แจ่มจันทร์ และอารยา เชียงของ. (2567).  อัตรารอดชีพของผู้บาดเจ็บภาวะคุกคามชีวิตที่นําส่งโดยชุดปฏิบัติการฉุกเฉินระดับสูงของหน่วยแพทย์กู้ชีวิต .  วารสารวิทยาลัยพยาบาลพระจอมเกล้า จังหวัดเพชรบุรี7(1), 78-97. ISI
17 Thaithae, S., Susanha Yimyam & Polprasarn, P. (2023).  Prevalence and Predictive Factors for Exclusive Breastfeeding at Six Months among Thai Adolescent Mothers .  Children10(-), 1-12. ISI
18 Muksiritipanun, B., Kaveenuntachai, D., Theerapon Phungdee & Khemika Rojtangkom. (2023).  Development of a capacity-building program for older adults on health management and promotion for older adults in urban communities, Bangkok Metropolis .  Journal of Public Health and Development21(2), 69-81. ISI
19 Thaidumrongdet, P. & Chaweevon Srasong. (2023).  Management of COVID-19: A Clinical Nursing Practice Guideline for Pregnant Women Undergoing a Cesarean Section .  The Open Nursing Journal17, 1-8. ISI
20 Jaiboon, S. & Arveewan Vittayatigonnasak. (2023).  Factors Influencing the Quality of Life in Thai Cancer Patients Receiving Chemotherapy during COVID-19 Pandemic .  Nurse Media Journal of Nursing13(2), 155-166. ISI
21 Jittitaworn, W. & Wisanskoonwong, P. (2023).  Self-directed learning about normal birth with web-based support for nurse-midwife students in Thailand: A mixed methods study .  Midwifery0(126), 10381-10381. ISI
22 Phutong, P. & Thaithae, S. (2023).  Social Support, Health Literacy and Anxiety among Pregnant Women during Coronavirus 2019 Pandemic in Thailand .  Frontiers in Psychology14, 1-8. ISI
23 Chiangkhong, A., Charin Suwanwong & Wongrostrai, Y. (2023).  Lifestyle, clinical, and occupational risk factors of recurrent stroke among the working-age group: A systematic review and meta-analysis .  Heliyon3(9), 1-10. ISI
24 Prueksaanantakal, N., Manomaipiboon A, Phankavong P, Jira W , Benjaku N, Maneerit J, Phumisantiphong U & Trakarnvanich T. (2023).  Effectiveness of the Air-Filled Technique to Reduce the Dead Space in Syringes and Needles during ChAdox1-n CoV Vaccine Administration .  Vaccines11(4), 1-8. ISI
25 Karuna, S. & Jittitaworn, W. (2566).  Nurse-Midwife Students’ Stress Resilience During Online Learning Amidst COVID-19 in Thailand: A Mixed Methods Study .  วารสารวิจัยทางการพยาบาล การผดุงครรภ์และวิทยาศาสตร์สุขภาพ43(2), 54-67. ISI
26 Thichatthaya Noppakhun & Chiangkhong, A. (2023).  Barriers and Facilitators of Self-Management Among Older Adults with Knee Osteoarthritis in Thailand .  The Journal of Behavioral Science18(3), 69-82. ISI
27 ยุพา วงศ์รสไตร และจินตนา แสงรูจี. (2566).  การพัฒนาแนวปฏิบัติการพยาบาลการให้ออกซิเจนบำบัดในผู้ป่วยติดเชื้อไวรัสโคโรนา 2019 (COVID-19) ในหออภิบาลแยกโรค .  วารสารพยาบาลทหารบก24(1), 269-278. ISI
28 บุษกร สีหรัตนปทุม, แสงเทียน เจียรวัฒนากุล, ฤดี ปุงบางกะดี, พัชราภัณฑ์ ไชยสังข์ และกมลภู ถนอมสัตย์. (2566).  การพัฒนารูปแบบกิจกรรมควบคุมการบริโภคบุหรี่ทุกช่วงวัยโดยแกนนำนักศึกษาพยาบาล .  วารสารพยาบาล72(1), 19-26. ISI
29 ปาริชาติ จันทร์สุนทราพร, จริยา ชื่นศิริมงคล และอนุแสง จิตสมเกษม. (2566).  การศึกษาสมรรถนะพยาบาลวิชาชีพที่ปฏิบัติงานในโรงพยาบาลสนามโรงพยาบาลวชิรพยาบาล .  วารสารเกื้อการุณย์30(1), 125-140. TCI
30 สุรศักดิ์ มุลศรีสุข, พงศ์ศักดิ์ ธรรมกุลศักดิ์, ฉันทนา เคหะ, วรภัทร์ รัตอาภา, ณัฏฐา สายเสวย และจุฑาวดี หล่อตระกูล. (2566).  ความเครียดและปัจจัยที่มีความสัมพันธ์กับความเครียดในบุคลากรทางการแพทย์ด่านหน้าที่ปฏิบัติงานในช่วงการแพร่ระบาดของโรคติดเชื้อไวรัสโคโรนา 2019 ในประเทศไทย .  วชิรสารการพยาบาล25(1), 15-25. ISI
31 สมบัติ ริยาพันธ์, ญาดา ประคองยศ และสุธีกาญจน์ ไชยลาภ. (2566).  ความรอบรู้ทางสุขภาพของผู้ดูแลผู้ป่วยโรคจิตเภทในกรุงเทพมหานคร .  วารสารสุขภาพกับการจัดการสุขภาพ9(2), 27-39. ISI
32 บุษกร สีหรัตนปทุม, ปราลีณา ทองศรี และอารยา เชียงของ. (2566).  ประสบการณ์การใช้ยาอย่างสมเหตุผลของพยาบาลวิชาชีพในสถานประกอบการเอกชน: การศึกษาเชิงปรากฏการณ์วิทยา .  วารสารพยาบาล72(3), 11-20. ISI
33 นิตยา สุขชัยสงค์ และพนิตนันท์ พรหมดำ. (2566).  ประสิทธิผลของโปรแกรมการจัดการตนเองร่วมกับการฝึกสติ ในผู้ป่วยโรคเบาหวานที่คุมไม่ได้ .  วารสารเกื้อการุณย์30(2), 241-255. TCI
34 อารยา เชียงของ, วีรพงษ์ พวงเล็ก, อมราพร สุรการ, ชัยยุทธ กลีบบัว และนิตยา สุขชัยสงค์. (2566).  ปรากฏการณ์การเกิดอุบัติเหตุจากพฤติกรรมเสี่ยงในการขับขี่รถจักรยานยนต์ของผู้ที่มีอายุต่ำกว่า 15 ปี: การศึกษาเชิงคุณภาพ .  วารสารความปลอดภัยและสุขภาพ16(2), 51-64. ISI
35 จินตนา ฤทธารมย์, จันทร์สุดาพรรณ บุญธรรม และธีรศักดิ์ เต็มไพบูลย์กุล. (2566).  ปัจจัยทำนายการเกิดกลุ่มอาการโลโคโมทีฟตามวิถีชีวิตการส่งเสริมสุขภาพของผู้สูงอายุที่อาศัยในเขตเมือง .  วารสารเกื้อการุณย์30(2), 179-212. TCI
36 ชนานุช สารวิทย์ และยุพา วงศ์รสไตร. (2566).  ปัจจัยทำนายคุณภาพชีวิตด้านสุขภาพในผู้ป่วยโรคหลอดเลือดแดงส่วนปลายอุดตัน .  วารสารเกื้อการุณย์30(1), 70-83. TCI
37 นพัตธร พฤกษาอนันตกาล, ธมลวรรณ ยอดกลกิจ และรังสิมา เที่ยงเธียรธรรม. (2566).  ปัจจัยที่เกี่ยวข้องกับระยะเวลานอนโรงพยาบาลของผู้ป่วยหลังการผ่าตัดลำไส้อุดตันในเขตเมือง .  วารสารเกื้อการุณย์30(1), 141-156. TCI
38 สุรินทร์รัตน์ บัวเร่งเทียนทอง, จินตนา ฤทธารมย์, สุรีรัตน์ มงคลพันธุ์ , อรทัย และยินดี . (2566).  ปัจจัยทําานายความตระหนักต่อความเสี่ยงการพลัดตกหกล้มผู้ที่มารับบริการในคลินิกผู้สูงอายุ โรงพยาบาลเขตเมือง กรุงเทพมหานคร .  วารสารวิจัยสุขภาพและการพยาบาล39(3), 73-83. ISI
39 ณฐภัทร ดีเลิศพิพัฒน์กุล และจันทร์สุดาพรรณ บุญธรรม. (2566).  ผลของการใช้สื่อวีดิทัศน์เพื่อเตรียมความพร้อมก่อนและหลังการผ่าตัดต่อความรู้ และความพึงพอใจในผู้ป่วยที่ได้รับการฝังเครื่องอิเล็กทรอนิกส์ไฟฟ้าหัวใจ .  วารสารวชิรสารการพยาบาล25(2), 1-16. TCI
40 เบญจมาศ ฉันทศักดา และจันทร์สุดาพรรณ บุญธรรม. (2566).  ผลของการประคบอุ่นต่อการทำหัตถการเปิดหลอดเลือดดำในผู้ป่วยที่หาหลอดเลือดดำยากในหอผู้ป่วยเพชรรัตน์ 4C (หอผู้ป่วยวิกฤติโรคหัวใจ) .  วารสารวชิรสารการพยาบาล25(2), 17-26. TCI
41 กมลชนก จี้อาทิตย์ และยุพา วงศ์รสไตร. (2566).  ผลของโปรแกรมการจัดการตนเองของบุคคลและครอบครัวด้านการออกกำลังกายต่อพฤติกรรมการออกกำลังกายและความสามารถในการออกกำลังกายของผู้สูงอายุภายหลังได้รับการขยายหลอดเลือดหัวใจ .  วารสารสภาการพยาบาล38(3), 160-181. ISI
42 นิตยา สุขชัยสงค์, อารยา เชียงของ และวิเชษฐ์ เชิดสันเทียะ. (2566).  ผลของโปรแกรมการจัดการตนเองร่วมกับโมบายแอปพลิเคชันเบาหวาน เบาใจ ต่อพฤติกรรมป้องกันการเกิดแผลที่เท้าของผู้ป่วยโรคเบาหวานชนิดที่ 2 ที่คุมระดับนำ้ตาลไม่ได้ .  วารสารพฤติกรรมศาสตร์เพื่อการพัฒนา15(2), 1-16. ISI
43 วรณัน รื่นพรต, สุภาพ ไทยแท้ และปิยธิดา ศรีพงษ์สุทธิ์. (2566).  ผลของโปรแกรมการส่งเสริมการเลี้ยงลูกด้วยนมแม่ร่วมกับการใช้สื่อสังคมออนไลน์แอปพลิเคชันไลน์ต่อความรู้และอัตราการเลี้ยงลูก ด้วยนมแม่อย่างเดียวในมารดาที่ทำงานนอกบ้าน .  วารสารเกื้อการุณย์30(1), 110-124. TCI
44 วรรณา จันทร์ดา และบุญทิวา สู่วิทย์. (2566).  ผลของโปรแกรมการส่งเสริมพฤติกรรมการใช้ยาร่วมกับการใช้แอปพลิเคชันในผู้ป่วยต้อหินมุมเปิดที่มีระดับความดันตาสูง .  วารสารมหาวิทยาลัยคริสเตียน29(3), 1-15. TCI
45 วิยะดา เพ็งจรูญ และขจี พงศธรวิบูลย์. (2566).  ผลของโปรแกรมการส่งเสริมสมรรถนะแห่งตนต่อพฤติกรรมการควบคุมโรคเบาหวาน ของผู้สูงอายุโรคเบาหวานชนิดที่ 2 .  วารสารมหาวิทยาลัยคริสเตียน29(4), 51-66. TCI
46 ณิรชา ศรีสุวัฒนานันท์ และขจี พงศธรวิบูลย์. (2566).  ผลของโปรแกรมส่งเสริมความเชื่อด้านสุขภาพในการรับประทานยาต้านเกล็ดเลือดร่วมกับการใช้กล่องเตือนกินยาออนไลน์ ต่อความร่วมมือในการรับประทานยาของผู้ป่วยกล้ามเนื้อหัวใจขาดเลือดหลังได้รับการขยายหลอดเลือดโคโรนารี .  วารสารพยาบาลตำรวจ15(1), 74-85. ISI
47 ชยุดา ขอเจริญ , ภัทรสิริ พจมานพงศ์ และธีธัช อนันต์วัฒนสุข. (2566).  ผลของโปรแกรมส่งเสริมสมรรถนะแห่งตนร่วมกับแรงสนับสนุนของครอบครัวต่อความร่วมมือในการรักษาของผู้ป่วยที่ได้รับการใส่เครื่องกระตุ้นหัวใจแบบถาว .  วารสารวิจัยสุขภาพและการพยาบาล39(3), 126-137. ISI
48 Saran Pimthong, Charin Suwanwong, Amaraporn Surakarn, Chiangkhong, A., Thanayot Sumalrot, Anon & Khunakorncharatphong . (2022).  Development and validation of the Thai mental well-being scale .  Heliyon2(4), 1-6. Other
49 Phra Sutthisanmethi, Wetprasit, S., Phramaha Chakrpol & Acharashubho Thepa. (2022).  The Promotion of well-being for the Elderly Based on the 5 Ᾱyussadhamma in the Dusit District, Bangkok, Thailand: A Case Study of Wat Sawaswareesimaram Community .  International Journal of Health Sciences6(3), 1391-1408. ISI
50 Inthira Roopsawang, Suparb Aree-Ue, Baurangthienthong, S., Boontham, J. & Yuwadee Phiboonleetrakun. (2022).  Path Model Factors Associated with Depressive Symptoms among Older Thais Living in Rural Areas .  Geriatrics (Switzerland)7(3), 1-10. ISI
51 Hengyotmark, A. & Wichitra Kusoom. (2022).  Physical as Well as Psychological Distress and Coping with Situational Dilemmas Experienced by People Infected with COVID-19: A Mixed Method Study .  International Journal of Environmental Research and Public Health19(22), 1-15. ISI
52 Pachanat Nunthaitaweekul, Natt Leelawat, Thaithae, S., Weerayut Muenboonme, Kodchakorn Krutphong, Kunch Ringrod & Jing Tang. (2022).  Tele Health Self-Management (THSM) Innovation for Patients with COVID-19: A Conceptual Design .  Journal of Disaster Research17(7), 1158-1164. ISI
53 Intarakamhang U, Sriprasertpap K, Chiangkhong, A., Srisawasdi N, Wongchan S, Intarakamhang P, & Boocha P. (2022).  Construct Validity of Health Literacy Scales and Causal Model of Sufficient Health among NCDs Risk Adults .  Journal of the Medical Association of Thailand105(12), 1259-1266. ISI
54 Muksiritipanun, B., Theerapon Phungdee, Kaveenuntachai, D. & Khemika Rojtangkom. (2565).  Correlation of Biosocial Factors and Health Literacy with Competency of Older Adults on Management and Health Promotion for Older Adults in Urban Communities, Bangkok Metropolis .  Interdisciplinary Research Review16(6), 29-34. ISI
55 จริยา ชื่นศิริมงคล และเลิศศิลป เอี่ยมพงษ์. (2565).  การพัฒนาแนวปฏิบัติการพยาบาลในการดูแลผู้ป่วยเข้าข่ายสงสัย/ผู้ป่วยติดเชื้อไวรัสโคโรนา2019 (COVID-19) ห้องตรวจผู้ป่วยนอกติดเชื้อทางเดินหายใจ (OPD ARI) .  วชิรสารการพยาบาล25(2), 27-38. ISI
56 ปองพล คงสมาน และจันทรา จินดา. (2565).  การพัฒนาแนวปฏิบัติการพยาบาลในการดูแลผู้ป่วยเข้าข่ายสงสัยผู้ป่วยติดเชื้อไวรัสโคโรนา 2019 (COVID-19) ในตึกเวชศาสตร์ฉุกเฉิน .  วารสารพยาบาลทหารบก23(1), 159-168. ISI
57 ศศวรรณ อัตถวรคุณ, วิเชษฐ์ เชิดสันเทียะ และวัลยา ตูพานิช. (2565).  การพัฒนาบทเรียนสอนเสริมผ่านสื่อออนไลน์ Google classroom เรื่องการทำแผนที่ชุมชน สำหรับนักศึกษาพยาบาลคณะพยาบาลศาสตร์เกื้อการุณย์ .  วารสารเกื้อการุณย์29(2), 171-185. TCI
58 ปาริชาติ อาษาธง และสุปรีดา มณิปันตี. (2565).  การพัฒนารูปแบบการป้องกันการติดสื่อดิจิทัลสำหรับเด็กปฐมวัยแบบมีส่วนร่วมของครอบครัวและชุมชนในจังหวัดร้อยเอ็ด .  วารสารเกื้อการุณย์29(2), 186-203. TCI
59 นิตยา ศักดิ์สุภา และวารีรัตน์ จิตติถาวร. (2565).  ความเครียด ความกลัวต่อความตระหนักในการปฏิบัติหน้าที่ในสถานการณ์ การระบาดของโรคติดเชื้อไวรัสโคโรนา 2019 (COVID-19) ของพยาบาลวิชาชีพ โรงพยาบาลเจริญกรุงประชารักษ์ .  วารสารพยาบาลทหารบก23(3), 457-469. ISI
60 จารุณี เทียบโพธิ์, วัลยา ตูพานิช และงามเอก ลำมะนา. (2565).  ความท้าทายที่พยาบาลชุมชนเผชิญในการจัดการโรคอ้วนในวัยผู้ใหญ่ .  วารสารโรงพยาบาลเจริญกรุงประชารักษ์18(1), 99-114. ISI
61 จรรยาลักษณ์ สุขแจ่ม และปิยธิดา ศรีพงษ์สุทธิ์. (2565).  ความรอบรู้ทางด้านสุขภาพของสตรีที่มีภาวะความดันโลหิตสูงขณะตั้งครรภ์ที่มารับบริการในโรงพยาบาลสังกัดกรุงเทพมหานคร .  วารสารเกื้อการุณย์29(2), 322-333. TCI
62 ชนิภา ยอยืนยง, อารยา เชียงของ และนลิณี เชยกลิ่นพุฒ. (2565).  ความรอบรู้ทางสุขภาพด้านอาชีวอนามัย และการบาดเจ็บจากการทำงาน: กรณีศึกษาพนักงานจัดเรียงสินค้า .  วารสารความปลอดภัยและสุขภาพ15(1), 40-57. ISI
63 ปาริชาติ ทาโน และสุมิตตา สว่างทุกข์. (2565).  ประสบการณ์ของนักศึกษาพยาบาลในการเรียนวิชาปฏิบัติการผดุงครรภ์ 2 ในช่วงการแพร่ระบาดของโรคติดเชื้อไวรัสโคโรนา 2019: การศึกษาเชิงปรากฏการณ์วิทยา .  วารสารเกื้อการุณย์29(2), 306-321. TCI
64 จิรนันท์ จินดาชาติ, เสาวนีย์ โสบุญ, รุ่งรัตน์ พละไกร และดวงรัตน์ กวีนันทชัย. (2565).  ประสิทธิผลของโปรแกรมการพัฒนาศักยภาพผู้สูงอายุตามหลักปรัชญามอนเตสซอรี่ ต่อการเสริมสร้างพุทธิปัญญาในการป้องกันภาวะสมองเสื่อม จังหวัดอุบลราชธานี .  วารสารพยาบาลทหารบก23(1), 502-510. ISI
65 อมราพร สุรการ, อารยา เชียงของ, วีรพงษ์ พวงเล็ก และชัยยุทธ กลีบบัว. (2565).  ประสิทธิผลของโปรแกรมส่งเสริมพฤติกรรมหลีกเลี่ยงการขับขี่รถจักรยานยนต์ในเยาวชนอายุน้อยกว่า 15 ปี .  วารสารเกื้อการุณย์29(1), 145-159. TCI
66 ฐิติมา แซ่อึ้ง และยุพา วงศ์รสไตร. (2565).  ปัจจัยคัดสรรที่มีความสัมพันธ์กับระยะเวลามารับการรักษาของผู้สูงอายุที่มีภาวะพิษเหตุติดเชื้อ .  วารสารพยาบาลตำรวจ14(1), 140-152. ISI
67 ภัทรสิริ พจมานพงศ์, ชยุดา ขอเจริญ, ยุพา วงศ์รสไตร, พิรุณนภา เบ็ญพาด และกิตติกร นิลมานัต. (2565).  ปัจจัยทำนายความรอบรู้ในการฟื้นฟูสมรรถภาพหัวใจของผู้สูงอายุ โรคกล้ามเนื้อหัวใจขาดเลือดในเขตเมือง .  วารสารพยาบาลสงขลานครินทร์42(2), 148-162. TCI
68 อารยา เชียงของ และเชษฐ รัชดาพรรณาธิกุล. (2565).  ปัจจัยทำนายพฤติกรรมการหลีกเลี่ยงการได้รับบุหรี่มือสองของนักศึกษาในมหาวิทยาลัย .  วารสารเครือข่ายวิทยาลัยพยาบาลและการสาธารณสุขภาคใต้9(3), 49-59. ISI
69 กนกวรรณ ใจสบาย และบุญทิวา สู่วิทย์. (2565).  ผลของการให้ข้อมูลแบบรูปธรรม-ปรนัยร่วมกับการฟังดนตรีที่ชอบต่อความวิตกกังวล ในระยะผ่าตัดของผู้ป่วยสูงอายุข้อเข่าเสื่อมที่ได้รับการผ่าตัดเปลี่ยนข้อเข่าเทียมภายใต้การระงับความรู้สึกด้วยยาชาผ่านช่องไขสันหลัง .  วารสารพยาบาลตำรวจ14(2), 302-313. ISI
70 วรณัน ธีร์สุดาพรรณ และภัทราภรณ์ ศรีพรมมา. (2565).  ผลของโปรแกรมการจัดการการนอนไม่หลับต่อความรุนแรงของอาการนอนไม่หลับและคุณภาพการนอนหลับของนักศึกษาพยาบาล .  วารสารเกื้อการุณย์29(2), 277-291. TCI
71 จิรนันท์ จินดาชาติ และดวงรัตน์ กวีนันทชัย. (2565).  ผลของโปรแกรมการพัฒนาศักยภาพผู้สูงอายุแบบมีส่วนร่วมในการดูแลตนเองเพื่อป้องกันโรคไตเรื้อรัง จังหวัดอุบลราชธานี .  วารสารเกื้อการุณย์29(1), 54-66. TCI
72 นิศารัตน์ ชูชาญ และภานุวัฒน์ นิ่มนวล. (2565).  ผลของโปรแกรมการส่งเสริมพฤติกรรมการรับประทานอาหารสําหรับเด็กอนุบาลในเขตดุสิต กรุงเทพมหานคร .  วารสารครุศาสตร์ จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย50(2), 1-12. ISI
73 สุพัตรา ทองคำ และบุญทิวา สู่วิทย์. (2565).  ผลของโปรแกรมการให้ข้อมูลเตรียมความพร้อมผ่านทางแอปพลิเคชันไลน์ต่อระดับความวิตกกังวลของผู้ป่วยส่องกล้องลำไส้ใหญ่ทางทวารหนักแบบผู้ป่วยนอก .  วารสารพยาบาลตำรวจ14(2), 314-323. ISI
74 โยฮันนา ฤทธิชัย และขจี พงศธรวิบูลย์. (2565).  ผลของโปรแกรมส่งเสริมการรับรู้ความเชื่อด้านสุขภาพร่วมกับการใช้แอปพลิเคชันต่อพฤติกรรมการป้องกันโรคหลอดเลือดสมองของผู้ป่วยกลุ่มเสี่ยงที่มีอายุน้อย .  วารสารพยาบาลตำรวจ14(2), 254-267. ISI
75 พิรุณนภา เบ็ญพาด, ยุพา วงศ์รสไตร, ภัทรสิริ พจมานพงศ์, กลวิชย์ ตรองตระกูล และปิยะรัตน์ ไพรัชเวทย์. (2565).  พฤติกรรมการบริโภคอาหารกับโรคไม่ติดต่อของบุคลากรการแพทย์ในเขตเมือง .  วารสารพยาบาลทหารบก23(2), 137-148. ISI
76 สุภาพ ไทยแท้, ปริญญาภรณ์ ธนะบุญปวง, ทิวา มหาพรหม และกาญจนา กิริยางาม. (2565).  อนาคตภาพของการจัดบริการทางสังคมและสุขภาพเพื่อการ ปรับเปลี่ยนพฤติกรรมสุขภาพแบบมีส่วนร่วมในกลุ่มผู้สูงอายุ ตามบริบทสังคมเมือง กรุงเทพมหานคร .  วารสารแพทย์นาวี49(3), 658-673. TCI
77 Nooake, W. & Thongsong, L. (2021).  Development of a computer-assisted instructional package for life skills to prevent risky sexual behaviors in early adolescents, Bangkok, Thailand .  F1000Research10(online), 1-17. ISI
78 Thaithae, S., Chiangkhong, A. & Pridsadaporn Polprasarn. (2021).  Self-Reliant Community Development in a Semi-Urban Area of Bangkok: A Case Study of Community Well-Being .  The Journal of Behavioral Science16(2), 114-127. ISI
79 Thaithae, S., Susanha Yimyam & Polprasarn, P. (2021).  Factors Predicting Six Months Breastfeeding among Thai Adolescent Mothers .  international breastfeeding journal0(online), 1-13. SJR
80 ปองพล คงสมาน, ยุพา วงศ์รสไตร และจุฑารัตน์ อัครวงศ์วิศิษฎ์. (2564).  การตายดี ตามการรับรู้ของนักศึกษาพยาบาล .  วารสารพยาบาลทหารบก22(2), 95-104. ISI
81 ธณิดา พุ่มท่าอิฐ, ดวงเนตร ธรรมกุล และญาดารัตน์ บาลจ่าย. (2564).  การพัฒนาดัชนีความรอบรู้ด้านสุขภาพของผู้สูงอายุ .  วารสารวิจัยสุขภาพและการพยาบาล37(3), 192-204. ISI
82 สมบัติ ริยาพันธ์, นิยดา ภู่อนุสาสน์ และญาดา ประคองยศ. (2564).  การพัฒนาศักยภาพแกนนำชุมชนในการส่งเสริมสุขภาพจิตผู้สูงอายุ เขตบางซื่อ กรุงเทพมหานคร .  วชิรเวชสารและวารสารเวชศาสตร์เขตเมือง65(2), 143-152. TCI
83 พีรนันท์ วิศาลสกุลวงษ์, จรรยาลักษณ์ สุขแจ่ม และวรณัน รื่นพรต. (2564).  การเรียนรู้ผ่านการสะท้อนคิดของนักศึกษาพยาบาลในหน่วยฝากครรภ์:การศึกษาเฉพาะกรณีเชิงคุณภาพ .  วารสารเครือข่ายวิทยาลัยพยาบาลและการสาธารณสุขภาคใต้8(1), 234-249. ISI
84 สุรินทร์รัตน์ บัวเร่งเทียนทอง และอรทัย ยินดี. (2564).  การศึกษาความเสี่ยง ความกลัวการหกล้ม และแนวทางการจัดการป้องกันการพลัดตกหกล้มผู้ที่มารับบริการในคลินิกผู้สูงอายุ .  วชิรสารการพยาบาล23(2), 30-43. ISI
85 ฐาพัชร์ลดา เกียรติเลิศเดชา, อารยา เชียงของ, ปราลีณา ทองศรี และอนุงค์นุช สารจันทร์. (2564).  ความรอบรู้ทางสุขภาพในการป้องกันโรคมะเร็งเต้านมและโรคมะเร็งปากมดลูก:กรณีศึกษาการสร้างเสริมความรอบรู้ทางสุขภาพของสตรีวัยเจริญพันธุ์ในเขตกรุงเทพมหานคร .  วารสารเครือข่ายวิทยาลัยพยาบาลและการสาธารณสุขภาคใต้8(1), 211-221. ISI
86 นิรมนต์ เหลาสุภาพ, นพัตธร พฤกษาอนันตกาล, จุฬาพร ยาพรม และอารยา เชียงของ. (2564).  ความรอบรู้ทางสุขภาพเพื่อป้องกันโรคเรื้อรังของผุ้ใหญ่ในเขตกรุงเทพมหานคร : กรณีศึกษาเงื่อนไขของการสร้างความรอบรู้ทางสุขภาพ .  วารสารรามาธิบดีพยาบาลสาร27(1), 122-135. TCI
87 ปองพล คงสมาน และจริยา สุขกลิ่น. (2564).  ประสบการณ์ของพยาบาลฉุกเฉินที่ปฏิบัติงานภายใต้สถานการณ์ภัยพิบัติโรคติดเชื้อไวรัสโคโรนา 2019 โรงพยาบาลมหาวิทยาลัย .  วารสารเกื้อการุณย์28(2), 105-117. TCI
88 พนิตนันท์ พรหมดำ และนิตยา สุขชัยสงค์. (2564).  ประสิทธิผลของโปรแกรมการประยุกต์ทฤษฎีแรงจูงใจในการป้องกันโรคร่วมกับแรงสนับสนุนทางสังคมต่อพฤติกรรมรับประทานยาในผู้สูงอายุโรคความดันโลหิตสูง กรุงเทพมหานคร .  วารสารพยาบาลโรคหัวใจและทรวงอก32(2), 131-145. ISI
89 สุภวรรณ วงศ์ธีรทรัพย์, เบญจมาศ ตระกูลงามเด่น และเจริญศรี พุ่มพวง. (2564).  ประสิทธิผลของโปรแกรมสนับสนุนการปรับเปลี่ยนพฤติกรรมในวิถีชีวิตด้านสุขภาพเพื่อป้องกันโรคไตจากเบาหวานในผู้ป่วยเบาหวานชนิดที่ 2 ที่มีโอกาสเสี่ยงสูง .  วารสารแพทย์นาวี48(3), 631-649. TCI
90 ยุทธนา แยบคาย และวัลยา ตูพานิช. (2564).  ปัจจัยที่มีผลต่อการปฏิบัติงานตามบทบาทของอาสาสมัครประจำครอบครัว จังหวัดสุโขทัย .  วารสารพยาบาลตำรวจ13(1), 34-42. ISI
91 ภัทรสิริ พจมานพงศ์ และวิชุดา ขอเจริญ. (2564).  ปัจจัยที่มีผลต่อความรอบรู้ด้านการฟื้นฟูสมรรถภาพหัวใจของผู้ดูแลผู้สูงอายุโรคกล้ามเนื้อหัวใจขาดเลือด ในเขตเมือง .  วารสารแพทย์นาวี48(3), 685-702. TCI
92 สุภาพ ไทยแท้, ปริญญาภรณ์ ธนะบุญปวง และทิวา มหาพรหม. (2564).  ปัจจัยที่ส่งผลต่อพฤติกรรมการดูแลสุขภาพของผู้สูงอายุในชุมชนเมือง กรุงเทพมหานคร .  วารสารแพทย์นาวี48(2), 393-406. TCI
93 อารยา เชียงของ, ชนิภา ยอยืนยง และอรุณี เฮงยศมาก. (2564).  อนาคตภาพ : แนวทางการให้บริการสุขภาพเพื่อพัฒนาความรอบรู้ทางสุขภาพของผู้ป่วยโรคเรื้อรัง .  วารสารพยาบาลโรคหัวใจและทรวงอก32(2), 217-232. ISI
94 Thongsong, L. & Nooake, W. (2020).  A causal relationship model of health literacy and health behavior for obesity prevention among primary school students in Bangkok, Thailand .  F1000Research9(online), 1342-1352. ISI
95 ยุพา วงศ์รสไตร, ขจี พงศธรวิบูลย์, ปฏิพร บุณยพัฒน์กุล, เสาวลักษณ์ ทำมาก และจุฑารัตน์ อัครวงศ์วิศิษฎ์. (2563).  การประเมินผลลัพธ์ของการอบรมหลักสูตรการพยาบาลเฉพาะทาง สาขาการพยาบาลเวชปฏิบัติฉุกเฉินของมหาวิทยาลัยนวมินทราธิราช: วิจัยเชิงคุณภาพ .  วารสารเกื้อการุณย์27(2), 36-49. TCI
96 วราภรณ์ ดีน้ำจืด, ยุพา วงศ์รสไตร และเบญญาภา มุกสิริทิพานัน. (2563).  การประเมินหลักสูตรการพยาบาลเฉพาะทางด้านการพยาบาลผู้ป่วยแบบประคับประคอง ของคณะพยาบาลศาสตร์เกื้อการุณย์ มหาวิทยาลัยนวมินทราธิราช .  วารสารเกื้อการุณย์27(2), 20-35. TCI
97 พีรนันท์ วิศาลสกุลวงษ์, สุมิตตา สว่างทุกข์ และมณีรัตน์ พราหมณี. (2563).  การพัฒนารูปแบบการเรียนการสอนเสริมผ่านสื่อออนไลน์ เฟซบุ๊กกรุ๊ปวิชาการพยาบาลผดุงครรภ์ 2 .  วารสารการพยาบาลและการดูแลสุขภาพ38(1), 97-106. ISI
98 สุณี เวชประสิทธิ์, สุณี เวชประสิทธิ์ และกฤตสุชิน พลเสน. (2563).  การพึ่งตนเองของผู้สูงอายุตามหลักพุทธปรัชญาเถรวาท ในชุมชนอำเภอพุทธมณฑล จังหวัดนครปฐม .  วารสารสถาบันวิจัยญาณสังวร มหาวิทยาลัยมหามกุฏราชวิทยาลัย11(2), 1-11. TCI
99 จริยา ชื่นศิริมงคล, วัลยา ตูพานิช, สุธีกาญจน์ ไชยลาภ, ชนิภา ยอยืนยง และศิริพร ครุฑกาศ. (2563).  การศึกษาติดตามการดำเนินงานทีมหมอครอบครัว กรุงเทพมหานคร .  วารสารวชิรเวชสารและวารสารเวชศาสตร์เขตเมือง64(1), 59-70. TCI
100 นุศ ทิพย์แสนคำ. (2563).  การศึกษาพยาบาลด้านการดูแลแบบประคับประคอง .  วารสารเกื้อการุณย์27(1), 98-115. TCI
101 นิรมนต์ เหลาสุภาพ, นพัตธร พฤกษาอนันตกาล, จุฬาพร ยาพรม และอารยา เชียงของ. (2563).  ความรอบรู้ทางสุขภาพในการป้องกันโรคเรื้อรังของกลุ่มผู้ใหญ่ในเขตกรุงเทพมหานคร: การพัฒนาและตรวจสอบคุณภาพของแบบวัด .  วารสารพยาบาลโรคหัวใจและทรวงอก31(1), 80-94. ISI
102 ยุพา วงศ์รสไตร และวราภรณ์ ดีน้ำจืด. (2563).  ความสุขในการเรียนรู้ของนักศึกษาพยาบาล หลักสูตรพยาบาลศาสตรบัณฑิต .  วารสารการพยาบาลและการศึกษา13(1), 43-57. TCI
103 ปองพล คงสมาน, จิราพร เกศพิชญวัฒนา และจรรยา ฉิมหลวง. (2563).  ปัจจัยที่มีความสัมพันธ์กับความวิตกกังวลของญาติ ผู้ดูแลเกี่ยวกับความตายของผู้ป่วยมะเร็งระยะลุกลาม .  วารสารเกื้อการุณย์27(1), 85-97. TCI
104 ปาริชาติ ทาโน และพีรนันท์ วิศาลสกุลวงษ์. (2563).  ผลของการเรียนรู้ผ่านการสะท้อนคิดต่ออภิปัญญาของนักศึกษาพยาบาลในห้องคลอด .  วารสารพยาบาลตำรวจ12(2), 398-408. ISI
105 Chiangkhong, A., Pattana, K., Patcharee Duangchan & Ann Macaskill. (2019).  Effectiveness of Health Literacy through Transformative Learning of Glycemic Control in Diabetic Adults .  The Journal of Behavioral Science14(3), 49-61. ISI
106 กิตติกร นิลมานัต, มลธิรา อุดชุมพิสัย, ภัทรสิริ พจมานพงศ์, นิภา นิยมไทย และ . (2562).  การดูแลแบบประคับประคองอย่างต่อเนื่องจากโรงพยาบาลสู่บ้านในบริบทภาคใต้ .  วารสารสภาการพยาบาล34(2), 76-93. TCI
107 สุณี เวชประสิทธิ์, ปุณรดา พวงสมัย และทัศนีย์ ทองประทีป. (2562).  การปฏิบัติการพยาบาลแบบองค์รวมในการดูแลผู้ป่วยแบบ ประคับประคอง ของนักศึกษาพยาบาลชั้นปีที่ 4 คณะพยาบาลศาสตร์เกื้อการุณย์ .  วารสารเกื้อการุณย์26(1), 170-186. TCI
108 ยุพา วงศ์รสไตร, ขจี พงศธรวิบูลย์, ปฏิพร บุณยพัฒน์กุล, เสาวลักษณ์ ทำมาก และจุฑารัตน์ อัครวงศ์วิศิษฎ์. (2562).  การประเมินสมรรถนะของผู้สำเร็จการอบรมหลักสูตร การพยาบาลเฉพาะทางสาขาการพยาบาลเวชปฏิบัติฉุกเฉิน ของมหาวิทยาลัยนวมินทราธิราช .  วารสารเกื้อการุณย์26(1), 153-169. TCI
109 ฉัตรวลัย ใจอารีย์ และอารยา เชียงของ. (2562).  การพัฒนาโปรแกรมการสร้างความตระหนักในความปลอดภัยของผู้ป่วยและการพยาบาลที่เน้นความปลอดภัยของผู้ป่วย .  วารสารเกื้อการุณย์26(2), 22-37. TCI
110 ฐาพัชร์ลดา เกียรติเลิศเดชา, อารยา เชียงของ, ปราลีณา ทองศรี และอนงค์นุช สารจันทร์. (2562).  การพัฒนาและตรวจสอบคุณภาพของแบบวัดความรอบรู้ทางสุขภาพ ในการป้องกันโรคมะเร็งปากมดลูกและโรคมะเร็งเต้านมของกลุ่มสตรีวัยเจริญพันธุ์ เขตกรุงเทพมหานคร .  วชิรเวชสารและวารสารเวชศาสตร์เขตเมือง63(เพิ่มเติม), 31-42. TCI
111 วราภรณ์ ดีน้ำจืด และภัทร์ธนิตา ศรีแสง. (2562).  ความรอบรู้ด้านสุขภาพในการดูแลตนเองให้มีสุขภาพดีของผู้สูงอายุในเขตกรุงเทพมหานคร: กรณีศึกษาการสร้างเสริมความรอบรู้ด้านสุขภาพของผู้สูงอายุ .  วชิรเวชสารและวารสารเวชศาสตร์เขตเมือง63(เพิ่มเติม), 73-82. TCI
112 ภัทร์ธนิตา ศรีแสง และวราภรณ์ ดีน้ำจืด. (2562).  ความรอบรู้ทางสุขภาพในการดูแลตนเองให้มีสุขภาพดีของผู้สูงอายุในเขตกรุงเทพมหานคร : การพัฒนาและการตรวจสอบคุณภาพของแบบวัด .  วารสารพยาบาลทหารบก20(2), 340-350. ISI
113 ชนิภา ยอยืนยง, นลิณี เชยกลิ่นพุฒ และอารยา เชียงของ. (2562).  ความรอบรู้ทางสุขภาพในการป้องกันโรคจากการประกอบอาชีพของกลุ่มวัยทำงาน เขตกรุงเทพมหานคร: การพัฒนาและตรวจสอบคุณภาพของแบบวัด .  วารสารเกื้อการุณย์26(2), 7-21. TCI
114 ภัทรสิริ พจมานพงศ์. (2562).  แนวทางการสร้างเสริมสุขภาพโดยแบ่งตามลักษณะองค์ประกอบด้านร่างกายของผู้สูงอายุสมาชิกศูนย์ส่งเสริมสุขภาพและฟื้นฟูสุขภาพผู้สูงอายุ คณะพยาบาลศาสตร์ มหาวิทยาลัยสงขลานครินทร์ .  วารสารพยาบาลศาสตร์ มหาวิทยาลัยสยาม20(39), 73-87. ISI
115 ญาดารัตน์ บาลจ่าย, ดลนภา สร่างไธสง และเฉลิมศรี เกิดมากมี. (2562).  ประสบการณ์ความรู้สึกมีคุณค่าในตนเองของผู้สูงอายุที่เจ็บป่วยเรื้อรังในสังคมเมือง .  วารสารสมาคมเวชศาสตร์ป้องกันแห่งประเทศไทย9(3), 350-364. ISI
116 ญาดารัตน์ บาลจ่าย, แสงอุษณีษ์ นวะมะรัตน, สิริรัก สินอุดมผล, พัชรินทร์ สุคนธาภิรมย์ ณ พัทลุง และสุดคะนึง ดารานิษร. (2562).  ประสิทธิผลของโปรแกรมศิลปะบำบัดต่อคุณภาพชีวิตผู้สูงอายุโรคเรื้อรังในสังคมเมือง: ชมรมผู้สูงอายุ .  วชิรเวชสารและวารสารเวชศาสตร์เขตเมือง63(6), 443-454. TCI
117 แสงเทียน เจียรวัฒนากุล และสิริรัก สินอุดมผล. (2562).  ปัจจัยทำนายคุณภาพชีวิตของนักศึกษาพยาบาล คณะพยาบาลศาสตร์เกื้อการุณย์ มหาวิทยาลัยนวมินทราธิราช .  วารสารเกื้อการุณย์26(1), 55-75. TCI
118 ภัทรสิริ พจมานพงศ์, ดวงกมล สุขทองสา, เบญจมาศ ตระกูลงามเด่น และยุพา วงศ์รสไตร. (2562).  ปัจจัยที่เกี่ยวข้องกับการเข้าถึงบริการล่าช้าของผู้ป่วยโรคกล้ามเนื้อหัวใจตามชนิดเอสทียก ของโรงพยาบาลในสังกัดสำนักการแพทย์ กรุงเทพมหานคร .  วารสารพยาบาลโรคหัวใจและทรวงอก30(2), 159-175. ISI
119 วัลยา ตูพานิช, สุธีกาญจน์ ไชยลาภ และกิตติ ไชยลาภ. (2562).  ปัญหาและความต้องการของผู้สูงอายุในเขตเมือง .  วารสารวชิรเวชสารและวารสารเวชศาสตร์เขตเมือง63(พิเศษ), 83-92. TCI
120 สุนิดา ชัยติกุล และพีรนันท์ วิศาลสกุลวงษ์. (2562).  ผลของการจัดท่าศีรษะสูงร่วมกับการประคบร้อนต่อความเจ็บปวด และระยะเวลาของระยะปากมดลูกเปิดเร็วในผู้คลอดครรภ์แรก .  วารสารการพยาบาลและการดูแลสุขภาพ37(3), 39-48. ISI
121 วิจิตรา กุสุมภ์ และอรุณี เฮงยศมาก. (2562).  ผลของการเรียนรู้โดยใช้กรณีศึกษาเป็นฐานต่อความคงทนในการเรียนรู้ของนักศึกษาพยาบาล .  วิชาการ มหาวิทยาลัยกรุงเทพธนบุรี8(1), 187-196. TCI
122 วัลยา ตูพานิช และปราลีณา ทองศรี. (2562).  ผลของโปรแกรมการปรับเปลี่ยนพฤติกรรมการสร้างเสริมสุขภาพต่อการรับรู้ความสามารถในตนเอง พฤติกรรมการสร้างเสริมสุขภาพและภาวะสุขภาพของผู้ป่วยโรคความดันโลหิตสูงในชุมชน .  วารสารวชิรเวชสารและวารสารเวชศาสตร์เขตเมือง63(เพิ่มเติม), 93-104. TCI
123 อรสา นําชัยศรีค้า และสุภาพ ไทยแท้. (2562).  ผลของโปรแกรมการสร้างเสริมพลังอำนาจร่วมกับการใช้แอปพลิเคชันบนสมาร์ตโฟนต่อพฤติกรรมการจัดการตนเองในสตรีที่มีภาวะกลั้นปัสสาวะไม่อยู่ .  วารสารเกื้อการุณย์26(2), 78-92. TCI
124 ญาดารัตน์ บาลจ่าย และเฉลิมศรี เกิดมากมี. (2562).  มุมมองทางพระพุทธศาสนาเกี่ยวกับความตาย :กรณีศึกษาผู้ป่วยมะเร็งนรีเวชในเขตเมือง .  วารสารบัณฑิตศึกษาปริทรรศน์15(เพิ่มเติม), 15-31. ISI
125 สุธีกาญจน์ ไชยลาภ. (2562).  สถานการณ์และปัจจัยที่มีความสัมพันธ์กับภาวะซึมเศร้าของผู้สูงอายุในเขตเมือง กรุงเทพมหานคร .  วชิรเวชสาร63(พิเศษ), 113-122. TCI
126 Nonglak Chetpakdeechit, Somchit Niputhuttapong, Ranu Kwanyuen, Baljay, Y. & Chutima Thongwachira. (2018).  Relationship between perceptions of health status, needs, expectations, ability for self-care among elderly people dwelling at Community in Khet Bang Phlat in Bangkok of Thailand .  KKU International Journal of Humanities and Social Sciences8(3), 22-43. ISI
127 Sue L. Hritz. , Ya-Fen Wang. & Akkarawongvisit, C. (2018).  Exploring Cultural Health Practices at a Midwestern University .  Holistic Nursing Practice32(5), 268-274. ISI
128 รัตนา จารุวรรโณ และจารุภา จิรโสภณ. (2561).  การดูแลแบบประคับประคองในผู้ป่วยอายุรกรรมตามการรับรู้ของนักศึกษาพยาบาล .  วารสารพยาบาลตำรวจ10(1), 142-153. ISI
129 ปาริชาติ ทาโน, ศิริชัย กาญจนาวาสี และโชติกา ภาษีผล. (2561).  การตรวจสอบความตรงเชิงโครงสร้างของแบบวัดอภิปัญญาของนักศึกษาพยาบาลด้วยการวิเคราะห์องค์ประกอบเชิงยืนยัน .  วารสารเกื้อการุณย์25(2), 7-20. TCI
130 เบญจมาศ ตระกูลงามเด่น, วณิดา มงคลสินธุ์ และดลนภา สร่างไธสง. (2561).  การประเมินหลักสูตรผู้จัดการการดูแลผู้สูงอายุในเขตพื้นที่ กรุงเทพมหานคร ของคณะพยาบาลศาสตร์เกื้อการุณย์ มหาวิทยาลัยนวมินทราธิราช .  วารสารเกื้อการุณย์25(2), 210-228. TCI
131 ขจี พงศธรวิบูลย์, จริยา ชื่นศิริมงคล และยุพา วงศ์รสไตร. (2561).  การศึกษาคุณลักษณะการเรียนรู้ตลอดชีวิตของนักศึกษาพยาบาล คณะพยาบาลศาสตร์เกื้อการุณย์ มหาวิทยาลัยนวมินทราธิราช .  วารสารเกื้อการุณย์25(1), 40-55. TCI
132 สุธีกาญจน์ ไชยลาภ, จันทรรัตน์ วงศ์อารีย์สวัสดิ์ และสมบัติ ริยาพันธ์. (2561).  กิจกรรมส่งเสริมประสบการณ์วิชาชีพในการเสริมสร้างความรู้ ทัศนคติ และทักษะการป้องกันพิษภัยจากบุหรี่ของนักศึกษาพยาบาล .  วารสารพยาบาล67(1), 33-39. ISI
133 รัตนา จารุวรรโณ, พีรนันท์ วิศาลสกุลวงษ์, จารุภา จิรโสภณ, จันทรรัตน์ วงศ์อารีย์สวัสดิ์, นุศ ทิพย์แสนคำ, ยุพา วงศ์รสไตร, พวงผกา กรีทอง และเบญจมาศ ตระกูลงามเด่น. (2561).  ความต้องการการศึกษาต่อทางการพยาบาลของพยาบาลวิชาชีพในเขตกรุงเทพมหานคร .  วารสารเกื้อการุณย์25(1), 7-24. TCI
134 เบญญาภา มุกสิริทิพานัน, ขจี พงศธรวิบูลย์, บุญทิวา สู่วิทย์, อำพันธ์ เจนสุวรรณ์ และยุพา วงศ์รสไตร. (2561).  ความผาสุกทางจิตวิญญาณและความต้องการจำเป็นในผู้ป่วยไตวายเรื้อรังระยะสุดท้าย คณะแพทยศาสตร์วชิรพยาบาล มหาวิทยาลัยนวมินทราธิราช .  วารสารพยาบาลสงขลานครินทร์38(1), 63-76. TCI
135 ปราลีณา ทองศรี, อารยา เชียงของ และธนยศ สุมาลย์โรจน. (2561).  ความสัมพันธ์เชิงสาเหตุของปัจจัยที่ส่งผลต่อภาวะซึมเศร้าในตำรวจจราจรเขตนครบาล .  วารสารพยาบาลสาธารณสุข32(1), 59-76. TCI
136 รัตนา จารุวรรโณ, จารุภา จิรโสภณ และกาญจนา กิริยางาม. (2561).  ประสบการณ์การรับส่งเวรของนักศึกษาพยาบาล หลักสูตรพยาบาลศาสตรบัณฑิต .  วารสารพยาบาลสภากาชาดไทย11(1), 128-144. TCI
137 ศิริพร ครุฑกาศ, รังศิมา วงษ์สุทิน, นงณภัทร รุ่งเนย, จริยา ชื่นศิริมงคล และพรทิวา เฉลิมวิภาส. (2561).  ปัจจัยสภาพแวดล้อมที่มีผลต่อการพัฒนาตนเองของนักศึกษาวิทยาลัยพยาบาล สังกัดสถาบันพระบรมราชชนก .  วารสารวิทยาลัยพยาบาลพระปกเกล้า จันทบุรี29(1), 126-137. ISI
138 Soowit, B., Wetprasit, S., Pongsathonviboon, K. & Lhaosupab, N. (2018).  Effects of Using Learning Model for Promoting the Holistic Palliative care among Nursing Students, Kuakarun Faculty of Nursing, Navamindradhiraj University .  The Journal of The Royal Thai Army Nurses19(1), 210-220. ISI
139 ภัททิยา ชัยนาคิน, จรรยาลักษณ์ สุขแจ่ม และมณีรัตน์ พราหมณี. (2561).  ผลของโปรแกรมการเรียนรู้แบบมีส่วนร่วมต่อความรู้ และทักษะในการป้องกันและการช่วยเหลือเบื้องต้น แก่มารดาและทารกที่คลอดก่อนถึงโรงพยาบาลของอาสาสมัครสาธารณสุขในเขตกรุงเทพมหานคร .  วารสารการพยาบาลและการศึกษา11(2), 29-45. TCI
140 อารยา เชียงของ, ปราลีณา ทองศรี และชะไมพร ธรรมวาสี. (2561).  รูปแบบความสัมพันธ์เชิงสาเหตุของปัจจัยที่ส่งผลต่อพฤติกรรมป้องกันความเสี่ยงทางเพศของวัยรุ่นหญิงในเขตกรุงเทพมหานคร : การวิจัยแบบผสานวิธี .  วารสารพยาบาลสาธารณสุข32(2), 1-22. TCI
141 เสาวลักษณ์ ทำมาก, ยุพา วงศ์รสไตร, บุญทิวา สู่วิทย์, ขจี พงศธรวิบูลย์, พิสมัย พิทักษาวรากร, นาวิน สุรภักดี และปราโมทย์ ภาภักดี. (2561).  สมรรถนะการพยาบาลสาธารณภัยของพยาบาลวิชาชีพที่ปฏิบัติงาน โรงพยาบาลแห่งหนึ่งในกรุงเทพมหานคร .  วารสารเกื้อการุณย์25(2), 168-184. TCI
142 บุญทิวา สู่วิทย์, ขจี พงศธรวิบูลย์, กฤษณา กลิ่นสมิทธิ์, จิตติกานต์ สุทธิศิริ, นวลนิตย์ อนุพงศ์, พิรมภ์ มูลนางเดียว, ยงยุธ เจริญผล, อุสา สังข์สอาด, กัญธิมา ศรีวิชัย, ปริยา คำประดำ และละมุล พานิช. (2560).  การประเมินความต้องการจำเป็นของการใช้บริการสุขภาพ ในผู้ใช้บริการสุขภาพแผนกผู้ป่วยนอก คณะแพทยศาสตร์วชิรพยาบาล มหาวิทยาลัยนวมินทราธิราชและโรงพยาบาลในสังกัดกรุงเทพมหานคร .  วารสารเกื้อการุณย์24(2), 82-97. TCI
143 Soowit, B., Pongsathonviboon, K., Chujit Wangkachornkiat & Wetprasit, S. (2017).  Needs Assessment of Spiritual Well-being in Head and Neck Cancer Patients, Faculty of Medicine Vajira Hospital, Navamindradhiraj University .  The Journal of The Royal Thai Army Nurses18(2), 194-202. ISI
144 พนิตนันท์ พรหมดำ. (2560).  การพัฒนาเครื่องมือแบบประเมินแรงจูงใจในการรับประทานยา และพฤติกรรมการรับประทานยาอย่างต่อเนื่องในผู้สูงอายุ โรคความดันโลหิตสูงในชุมชน .  วารสารการพยาบาลและการศึกษา10(1), 90-104. TCI
145 อารยา เชียงของ, พัชรี ดวงจันทร์, อังศินันท์ และอินทรกำแหง . (2560).  ความรอบรู้ทางสุขภาพในผู้ป่วยเบาหวานวัยผู้ใหญ่: ประสบการณ์ของการเป็นผู้ป่วยโรคเบาหวานและมุมมอง ที่เกี่ยวข้องกับความรอบรู้ทางสุขภาพ .  วารสารเกื้อการุณย์24(2), 162-178. TCI
146 เสาวลักษณ์ ทำมาก และบุญทิวา สู่วิทย์. (2560).  ความสัมพันธ์ระหว่างความรู้ ทัศนคติกับการเตรียมความพร้อม ในการเข้าสู่ประชาคมอาเซียนของพยาบาลวิชาชีพ คณะแพทยศาสตร์วชิรพยาบาล มหาวิทยาลัยนวมินทราธิราช .  วารสารเกื้อการุณย์24(2), 51-66. TCI
147 Muksiritipanun, B. (2017).  Factors Predicting Nursing Student’s Competencies based on Thai Qualification Framework for Higher Education of Nursing Students in Palliative Care Course, Kuakarun Faculty of Nursing, Navamindhadhiraj University .  The Journal of The Royal Thai Army Nurses18(2), 149-158. ISI
148 Wongrostrai, Y., Warunee Fongkaew, Nitaya Pinyokham, Sandra & K. (2016).  A Qualitative Study of Factors Affecting Sustainable Implementation of a Mechanical Ventilation Weaning Protocol .  Pacific Rim International Journal of Nursing Research20(2), 132-147. ISI
149 วัชราภรณ์ เชี่ยววัฒนา และสุปรีดา มณิปันตี. (2559).  การดูแลเด็กปฐมวัยในศูนย์เด็กเล็กน่าอยู่คู่นมแม่ ของโรงพยาบาลในสังกัดกรุงเทพมหานคร .  วารสารเกื้อการุณย์23(2), 51-68. TCI
150 สาระ มุขดี, ขจี พงศธรวิบูลย์ และยิ่งศักดิ์ เพชรนิล. (2559).  การพัฒนาระบบและกลไกที่เป็นเกณฑ์มาตรฐานในการประกันคุณภาพการศึกษาภายใน .  วารสารพยาบาลตำรวจ8(1), 97-106. ISI
151 วัลยา ตูพานิช, อุบล นามพันธ์ และสมใจ วินิจกุล. (2559).  ประสิทธิผลของการใช้กระบวนการเรียนรู้จากการถอดบทเรียนหลังการปฏิบัติ ในการฝึกปฏิบัติงานวิชาปฏิบัติการพยาบาลอนามัยชุมชน .  วารสารพยาบาลทหารบก17(1), 17-25. ISI
152 เบญจมาศ ตระกูลงามเด่น และสุภวรรณ วงศ์ธีรทรัพย์. (2559).  ปัจจัยทำนายคุณภาพชีวิตของผู้ป่วยมะเร็งระยะสุดท้าย ในแผนกผู้ป่วยนอก โรงพยาบาลในสังกัดสำนักการแพทย์ กรุงเทพมหานคร และคณะแพทยศาสตร์วชิรพยาบาล มหาวิทยาลัยนวมินทราธิราช .  วารสารเกื้อการุณย์23(2), 199-216. TCI
153 สมใจ วินิจกุล และนุศ ทิพย์แสนคำ. (2559).  ปัจจัยทำนายพฤติกรรมสร้างเสริมสุขภาพผู้ป่วยโรคเรื้อรังในชุมชน .  วารสารสาธารณสุขศาสตร์46(1), 5-15. TCI
154 แสงเทียน เจียรวัฒนากุล และสิริรัก สินอุดมผล. (2559).  ปัญหาอุปสรรค และแนวทางการแก้ไข การลดน้ำหนักของนักศึกษาพยาบาลที่มีภาวะอ้วน คณะพยาบาลศาสตร์เกื้อการุณย์ มหาวิทยาลัยนวมินทราธิราช .  วารสารเกื้อการุณย์23(2), 7-30. TCI
155 วิไล วิวัฒน์ชาญกิจ และสุปรีดา มณิปันตี. (2559).  ผลของโปรแกรมอาหารตามธาตุเจ้าเรือนต่อความรู้ เจตคติ พฤติกรรมการดูแลตนเอง และการรับรู้ภาวะสุขภาพ ด้านร่างกายในการรับประทานอาหารตามธาตุเจ้าเรือนของบุคลากร คณะพยาบาลศาสตร์เกื้อการุณย์ มหาวิทยาลัยนวมินทราธิราช .  วารสารเกื้อการุณย์23(2), 120-134. TCI
156 Pongsathonviboon, K., Siridej Sujiva & Suwimon Wongwanich. (2015).  FUTURE IMPACT OF THE CHANGE OF STATUS TO THE AUTONOMOUS UNIVERSITY SYSTEM OF FACULTY OF NURSING .  Procedia - Social and Behavioral Sciences0(191), 1152-1156. ISI
157 บุญทิวา สู่วิทย์, เสาวลักษณ์ ทำมาก, นิรมนต์ เหลาสุภาพ และพิสมัย พิทักษาวรากร. (2558).  การประเมินหลักสูตรพยาบาลกู้ชีพของคณะพยาบาลศาสตร์เกื้อการุณย์ มหาวิทยาลัยนวมินทราธิราช .  วารสารพยาบาลทหารบก16(2), 41-49. ISI
158 บุญทิวา สู่วิทย์, อมรรัตน์ เสตสุวรรณ, นิรมนต์ เหลาสุภาพ และนงนาฏ จงธรรมานุรักษ์. (2558).  การประเมินหลักสูตรพยาบาลศาสตรบัณฑิต (ฉบับปรับปรุง 2555) คณะพยาบาลศาสตร์เกื้อการุณย์ มหาวิทยาลัยนวมินทราธิราช ในปีการศึกษา 2555 – 2556 .  วารสารเกื้อการุณย์22(2), 71-90. TCI
159 พีรนันท์ วิศาลสกุลวงษ์ และสุมิตตา สว่างทุกข์. (2558).  การเรียนรู้ผ่านการสะท้อนกลับการปฏิบัติของนักศึกษาพยาบาลในห้องคลอด: วิจัยเชิงคุณภาพ .  วารสารเกื้อการุณย์22(2), 57-70. TCI
160 สุมิตตา สว่างทุกข์ และปาริชาติ ทาโน. (2558).  การศึกษาการตระหนักรู้ในพฤติกรรมเสี่ยงทางเพศกับพฤติกรรมเสี่ยงทางเพศของนักเรียนวัยรุ่น .  วารสารเกื้อการุณย์22(2), 41-56. TCI
161 สุปรีดา มณิปันตี และวิไล วิวัฒน์ชาญกิจ. (2558).  ความสัมพันธ์ระหว่างผลสัมฤทธิ์ทางการเรียน เจตคติต่อการเรียนและการประยุกต์ใช้ความรู้รายวิชาการดูแลแบบผสมและการบำบัดทางเลือก .  วารสารเกื้อการุณย์22(2), 91-106. TCI
162 ยุพาวรรณ ทองตะนุนาม, ดวงเนตร ธรรมกุล, อัจศรา ประเสริฐสิน, จริยา ชื่นศิริมงคล และศิริพร ครุฑกาศ. (2558).  ปัจจัยพัฒนาองค์กรแห่งความสุข (ภาครัฐ): การทบทวนวรรณกรรมอย่างเป็นระบบ .  วารสารวิจัยทางวิทยาศาสตร์สุขภาพ9(1), 52-62. TCI
163 อภิสรา จังพานิช และอรชร ศรีไทรล้วน. (2558).  ผลของการใช้วีดิทัศน์แบบแผนการดูแลผู้ป่วยประจำวันต่อความมั่นใจในการ ปฏิบัติการพยาบาลบนหอผู้ป่วยและความพึงพอใจ ของนักศึกษาพยาบาล คณะพยาบาลศาสตร์เกื้อการุณย์ คณะพยาบาลศาสตร์เกื้อการุณย์ .  วารสารเกื้อการุณย์22(1), 17-34. TCI
164 จินตนา ฤทธารมย์ และวิไลภรณ์ อู่ตะเภา. (2558).  ผลของโปรแกรมการผ่อนคลายแบบผสมผสานต่อระดับความวิตกกังวลและระดับความปวด ในผู้ป่วยผ่าตัดเปลี่ยนข้อเข่าเทียม .  วารสารชมรมพยาบาลออร์โธปิดิกส์แห่งประเทศไทย20(1), 16-34. Other
165 จินตนา ฤทธารมย์ และวิไลภรณ์ อู่ตะเภา. (2553).  ความปวด การจัดการความปวด อุปสรรคและความพึงพอใจในการจัดการความปวดของผู้ป่วยที่ได้รับการผ่าตัดกระดูกสันหลัง .  วารสารชมรมพยาบาลออร์โธปิดิกส์แห่งประเทศไทย15(1), 32-43. Other
166 จินตนา ฤทธารมย์. (2552).  การดูแลด้านจิตวิญญาณในผู้ป่วยเรื้อรัง: ประสบการณ์ของพยาบาลวิชาชีพ .  วารสารสภาการพยาบาล24(1), 62-76. TCI
167 จินตนา ฤทธารมย์. (2545).  ผลของโปรแกรมส่งเสริมสุขภาพต่อระดับความเจ็บปวดและการสูญเสียความสามารถในผู้ป่วยปวดหลังส่วนล่าง .  วารสารพยาบาลศาสตร์20(2), 13-22. TCI
ค้นหา วารสารวิชาการ
ทุกเขตคำค้น
ชื่อนักวิจัย
ชื่อผลงานวิจัย
ชื่อวารสาร
ปี พ.ศ.
หน่วยงานให้ทุน/แหล่งทุน
ระดับ